Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 8 เป้าหมายของเศรษฐกิจมหภาค - Coggle Diagram
บทที่ 8 เป้าหมายของเศรษฐกิจมหภาค
เป้าหมายของเศรษฐกิจมหภาค
การสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
GDP มีอัตราการเจริญเติบโตสูงเทียบ GDP ปีนี้กับปีก่อนดูว่า GDP ปีนี้ เปลี่ยนแปลงจากปีก่อนกี่ % เติบโตอย่างมีเสถียรภาพ GDP ไม่เพิ่มขึ้นและลดลงเร็วเกินไป การที่เศรษฐกิจมีความผันผวนมากเกินไปเป็นผลเสียต่อทั้งธุรกิจและประชาชนที่ต้องประสบกับความไม่มั่นคง
เสถียรภาพด้านราคา
เสถียรภาพทางด้านราคา : ระดับราคาสินค้าและบริการ เงินเฟ้อ - การที่ระดับราคาสินค้าโดยทั่วไปของระบบเศรษฐกิจปรับตัวสูงขึ้น อำนาจในการซื้อ ลดลงเสถียรภาพทางด้านอัตราแลกเปลี่ยนอัตรา : แลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศ อัตราแลกเปลี่ยนที่ไม่ปั่นป่วนมากและเหมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจช่วยทำให้สถานะทางการเงินและเศรษฐกิจของประเทศมีเสถียรภาพ
การแก้ปัญหาการกระจายรายได้
มีการกระจายรายได้ที่เป็นธรรม การกระจายรายได้ คือ สภาพความแตกต่างทางรายได้และความเป็นอยู่ของประชาชนที่มีฐานะต่างกันในประเทศเศรษฐกิจมีอัตราการเจริญเติบโตที่สูงแต่รายได้กระจุกตัวอยู่ที่คนบางกลุ่ม
การจ้างงานเต็มที่
ภาวะการจ้างงานเต็มที่ใช้ทรัพยากรที่อัตราการว่างานต่ำ
กำลังแรงงาน คือ คนที่ถึงวัยทำงานสามารถทำงานและต้องการทำงานทั้งหมดในระบบเศรษฐกิจ
ผู้ไม่มีงานทำ คือ แรงงานที่อยู่ในตลาดแรงงานแต่ไม่มีงานทำ
สาเหตุเงินเฟ้อ
เงินเฟ้อที่เกิดจากด้านอุปสงค์ เงินเฟ้อที่เกิดขึ้นจะอุปทานมวลรวมของประเทศเพิ่มสูงขึ้นในขณะที่อุปทานมวลรวมของสินค้าและบริการไม่สามารถเพิ่มขึ้นได้
เงินเฟ้อที่เกิดจากด้านต้นทุน เงินเฟ้อที่เกิดจากต้นทุนการผลิตสินค้าเพิ่มขึ้นในขณะที่อุปสงค์มวลรวมของประเทศยังคงเดิม
เงินเฟ้อที่เกิดจากด้านอุปสงค์มวลรวมและอุปทานมวลรวม เงินเฟ้อที่เกิดขึ้นเนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงของอุปสงค์และอุปทานมวลรวมในขณะเดียวกัน
ผลกระทบของเงินเฟ้อ
ผลต่อการกระจายรายได้
ผลกระทบต่อการค้าต่างประเทศ
ผลที่มีต่อการข้างของรัฐบาล
ผลต่อการเมืองของประเทศ
ผลต่อการออมและการลงทุนของประเทศ
ผลต่อการกระจายรายได้
กลุ่มที่ได้รับผลประโยชน์จากเงินเฟ้อ
กลุ่มที่มีรายได้เพิ่มขึ้นมากกว่าอัตราเงินเฟ้อที่เพิ่มขึ้น
กลุ่มที่ทำสัญญาจ่ายเงินไว้แล้วเป็นระยะเวลานาน
ผู้ที่ถือทรัพย์สินมั้ยพี่ราคาของทรัพย์สินนั้นสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามภาวะเงินเฟ้อ
กลุ่มที่เสียประโยชน์จากเงินเฟ้อ
ผู้ที่มีรายได้ประจำ
เจ้าหนี้ที่ไม่สามารถปรับอัตราดอกเบี้ยให้สูงขึ้นได้
ผู้ให้เช่าที่สัญญาเช่าระยะยาวและไม่สามารถปรับค่าเช่าได้
ผู้ถือทรัพย์สินในรูปของเงินฝากธนาคาร
การแก้ปัญหาเงินเฟ้อ
ปรับปรุงประสิทธิภาพในการผลิต เพื่อเพิ่มอุปทานมวลรวมให้ทันกับการเพิ่มขึ้นของอุปสงค์มวลรวมคิดค้นวิทยาการการไม่ฝึกอบรมเพิ่มทักษะแก่แรงงาน
ควบคุมราคาสินค้าโดยกำหนดราคาขายในท้องตลาดของสินค้าที่สำคัญบางชนิดที่จำเป็นต่อการครองชีพมีการลงโทษกักตุนสินค้า ควบคุมสหภาพแรงงานไม่ให้เรียกร้องค่าเเรงสูงกว่าผลิตภาพของแรงงาน
ลดอุปสงค์มวลรวมหรือลดการใช้จ่ายรวมของประเทศ : ใช้นโยบายการเงินหรือนโยบายการคลัง
เงินฝืด
ภาวะเศรษฐกิจที่ความต้องการสินค้าและบริการลดลงเนื่องจากความไม่มั่นคงในสภาวะทางเศรษฐกิจเงินในมือของผู้บริโภคอย่างเราจะมีค่าน้อยลง
สรุป คือ เงินฝืดเป็นสิ่งที่ไม่ดีแต่ได้แต่ภาวนาว่าอย่าให้เกิดภาวะนี้ขึ้นทั้งนี้ก็ขึ้นอยู่กับการบริหารจัดการของภาครัฐด้วย