Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Teenage Preterm with Severe preeclampsia, ผู้ป่วย, ทฤษฎี, ทฤษฎี, ผู้ป่วย,…
Teenage Preterm with Severe preeclampsia
Teen age
นิยาม : การตั้งครรภ์ของสตรีที่มีอายุ ระหว่าง 10 - 19 ปี
Power
แรงเบ่งผู้ป่วยน้อย I = >10 no contaction
แรงในการเบ่งคลอดและ การหดรัดตัวของมดลูก
Passage
ไม่ปรากฏข้อมูลผู้ป่วย
ช่องทางการคลอด
Passenger
ทารกแรกคลอดน้ำหนักหนัก 1,379 กรัม
ทารก,รก,เยื่อหุ้มรก
หญิงตั้งครรภ์ อายุ 17 ปี
ข้อมูลผู้ป่วย
หญิงตั้งครรภ์ อายุ 17 ปี G1P0 อายุครรภ์ 29+3 Wk by U/S
อาการสำคัญ
ท้องแข็ง 2 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล
ประวัติการเจ็บป่วยของตนเอง :โรคหัวใจ
ประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัว : มารดาของผู้ป่วยเป็นความดันโลหิตสูง
ประวัติการผ่าตัด : ปฏิเสธ
ไม่มีการแพ้ยาแพ้อาหาร
ปฏิเสธการสูบบุหรี่หรือเสพยาและแอลกอฮอล์
น้ำหนักก่อนการตั้งครรภ์ : 54.2 กิโลกรัม ส่วนสูง : 157 เซนติเมตร BMI : 22.31 kg/m2
อาการแรกรับ
ส่วนสูง 157 เซนติเมตร น้ำหนัก 67 กิโลกรัม ผลตรวจ Urine Alb/Sugar = +4/Neg T:37.4 BP: 165/95 mmHg PR: 90 /min RR: 18 /min O2 sat = 98% PS= 2
มีอาการ จุกแน่นลิ้นปี่ ตาพร่ามัว ปวดศรีษะ หน้าบวมมือบวม
PIH
นิยาม
ภาวะที่มีความดันโลหิตสูง systolic 140 mmHg ขึ้นไป และ ความดัน Diastolic 90 mmHg ที่เกิดเนื่องจากการตั้งครรภ์ อาจพบร่วมกับการมีโปรตีนในปัสสาวะหรือมีอาการบวมร่วมด้วย
แบ่งเป็น 4 กลุ่ม
1.Gestational Hypertension
ภาวะความดันโลหิตสูงที่วินิจฉัยเป็นครั้งแรกในระหว่างการตั้งครรภ์ ไม่พบโปรตีนในปัสสาวะ
2.Chronic Hypertension
ภาวะความดันโลหิตสูงที่เป็นมาก่อนการตั้งครรภ์หรือวินิจฉัยได้ก่อนอายุครรภ์ 20 สัปดาห์
Preeclampsia
ภาวะความดันโลหิตสูงที่พบครั้งแรกในขณะตั้งครรภ์หลังอายุครรภ์ 20 สัปดาห์ ร่วมกับ ตรวจพบโปรตีนในปัสสาวะ >= 300
Mild pre-eclampsia
Severe Preeclampsia
อาการ
อาการแสดง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การวินิจฉัย
การรักษา
17 more items...
การซักประวัติ
6 more items...
ผู้ป่วย อายุ 17 ปี G1P0 ผู้ป่วยมีโรคประจำตัว Asymptomatic mitral regurgitation
(โรคลิ้นหัวใจไมตรัสรั่ว)
มารดาของผู้ป่วยเป็นความดันโลหิตสูง
มีอาการ ปวดศีรษะ ตาพร่ามัว จุกแน่นลิ้นปี่
1 more item...
Proteinuria ตั้งแต่ 5 กรัมขึ้นไป ใน 24 ชั่วโมง หรือ 3+ dipstick ขึ้นไป2ครั้ง ห่างกันอย่างน้อย 4 ชั่วโมง
ภาวะไตวาย serum creatinine >= 1.1mg/ dL. หรือปริมาณปัสสาวะออกน้อยกว่า500 มิลลิลิตร ใน 24 ชั่วโมง
1 more item...
Protein (Urin - spot) 1994.2 mg/dL
AST = 22 U/L ALT = 15 U/L
1 more item...
Serum Creatinine 0.76 mg/dL
ความดันโลหิต systolic >=160 mmHg
diastolic >= 110 mmHg
เป็นอย่างน้อย 6 ชั่วโมง
น้ำท่วมปอด Pulmonary edema
ชักแบบชักทั้งตัว generalized tonic clonic seizure
1 more item...
BP = 165/75 mmHg T =37.4 C P = 90 ครั้ง/นาที
RR = 18 ครั้ง/นาที O2 = 98%
1.ปวดศรีษะ
2.ตาพร่ามัว
มี ตาพร่ามัว จุกแน่น ปวดใต้ชายโครงขวา
3.จุกแน่นลิ้นปี่ หรือปวดใต้ชายโครงขวา
Eclampsia
ภาวะ Preeclampsia ที่มีภาวะชักร่วมด้วย
4.Superimposed preeclampsia on chronic hypertension
ความดันโลหิต Systolic สูงขึ้น 30 mmHg และ Diastolic สูงขึ้น 15 mmHg พบโปรตีนในปัสสาวะเพิ่มขึ้นอย่างชัดเจน หรือเกร็ดเลือดน้อยกว่า 100,000 mm3
Preterm
ทารกแรกเกิดที่มีน้ำหนักตัวต่ำกว่า 2,500 กรัม
GA 29+3 wk
ทารกแรกคลอดน้ำหนัก 1,379 กรัม
Early
Anitoconvalsant
Anti hypertensive drug
ยา Hydralazine
ยา Nifedipine
ยา Methyldopa
ผู้ป่วยได้รับยาลดความดันโลหิต Hydralazine 1x2 po pc
ยา Magnesium Sulfate MgSO4
ผู้ป่วยได้รับยากันชัก เป็น 50 %MaSO 4 20 gm +
5% DW 460 ml. IV drip 12.5 ml/hr
ยา Dexamethasone
ผู้ป่วยได้รับยา Dexamethasone ครบ 4 dose
การคลอดก่อนอายุครรภ์ครบ 37 สัปดาห์
ผู้ป่วย
ทฤษฎี
ทฤษฎี
ผู้ป่วย
ผู้ป่วย
ทฤษฎี