Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
มโนทัศน์ของจิตวิทยาพัฒนาการ - Coggle Diagram
มโนทัศน์ของจิตวิทยาพัฒนาการ
จิตวิทยา
คำว่าจิตวิทยาพัฒนาการ
เป็นศาตร์ทางด้านจิตวิทยาแขนงหนึ่งที่มี จุดมุ่งหมายในการศึกษาพัฒนาการของมนุษย์ทุกวันตั้งแต่ปฏิสนธิจนถึงชราในทุกๆด้าน เช่น ด้านการเจริญเติบโต บุคลิกภาพ อารมณ์ ความรู้สึก
จุดมุ่งหมายศึกษาการเปลี่ยนแปลงของมนุษย์
ในด้านต่างๆ แบ่ง 4 กลุ่มใหญ่
กาย
อารมณ์
ความคิดสติปัญญาในวัยต่างๆ
สังคม
พัฒนาการ
หมายถึง กระบวนการเปลี่ยนแปลงในด้านต่าง ๆ
ของมนุษย์อย่างมีระเบียบแบบแผนสืบเนื่องกันไป
การเจริญเติบโต (Growth)
หมายถึง การเจริญเติบโตที่จะนำไปสู่วุฒิภาวะ
การมีวุฒิภาวะ (Maturation)
หมายถึง การที่บุคคลแต่ละคนบรรลุถึงขั้นการเจริญเติบโตเต็มที่หรือมีความเจริญถึงภาวะสูงสุดในระยะใดระยะหนึ่งตามขั้นของพัฒนาการ
หลักการพัฒนาการของมนุษย์
การพัฒนาการเป็นไปตามแบบแผน (Pattern)
ของมันเองในการพัฒนาการของมนุษย์หรือสัตว์ก็ตาม สามารถแบ่งได้ 2 ทิศทาง
Cephalo - Caudal direction การพัฒนาจากส่วนบนลงมาล่าง เช่น เด็กทารกจะสามารถใช้อวัยวะบริเวณศรีษะก่อนแล้วค่อยๆ เลื่อนลงมาที่ลำตัว
Proximo - Distal direction การพัฒนาที่เริ่มจากแกนกลางออกไปยังข้างลำตัว เช่น เด็กก่อนที่จะจับอะไร จะใช้ทอนแขนก่อน แล้วจึงค่อยๆใช้มือ และนิ้วมือตามลำดับ
การพัฒนาเริ่มจากส่วนใหญ่ไปหาส่วนย่อย หรือจากพฤติกรรมทั่วไป ไปหาพฤติกรรมที่เฉพาะเจาะจงมากขึ้น
เช่น ในเด็กทารกมีการเคลื่อนไหวก่อนการเคลื่อนไหวส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย
เช่น ในเด็กทารกมีการเคลื่อนไหว
ก่อนการเคลื่อนไหวส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย
พัฒนาการจะต่อเนื่องกันโดยไม่มีการหยุดหรือขาดตอน การพัฒนาของอวัยวัเกิดขึ้นมาตั้งแต่อยู่ในครรภ์มารดาและพัฒนามาเรื่อยไม่มีการหยุดยั้ง
การที่เรามีฟันขึ้นไม่ใช่เพิ่งมาพัฒนาตอนที่เรามีฟันขึ้น
แต่พัฒนามาตั้งแต่อยู๋ในครรภ์ โดยฟันจะอยู่ในเหงือซึ่งเรามองไม่เห็น
4.อัตราการพัฒนาของเด็กแต่ละคนจะแตกต่างกัน
ขึ้นอยู่องค์ประกอบที่สำคัญ 2 ประการ
1.พันธุกรรม
2.สิ่งแวดล้อม
5.อัตราการพัฒนาการของส่วนต่างๆ ของร่างกานแตกต่างกัน
อวัยวะหรือส่วนต่างๆของร่างกายมีอัตราการเจริญเติบโตต่างกัน เช่น มือ เท้า จะเจริญเติบโตถึงขีดสุดในวัยรุ่น
การคิดคำนึงการคิดสร้างสรรค์จะเจริยญอย่างรวดเร็ว
ในวัยเด็กและถึงขีดสุดเมื่อเข้าสู่วัยหนุ่มสาว
6.พัฒนาการทุกด้านจะสัมพันธ์กัน และสามารถทำนายพัฒนาการของเด็กได้
พัฒนาการทุกด้าน ทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม สติปัญญา มักจะมีการเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันหมด
7.การพัฒนาการแต่ละวัย
มีลักษณะเฉพาะตัวของมันเอง
ในเด็กแต่ละวัย จนถึงวัยผู้ใหญ่พฤติกรรมในแต่ละวัยย้อมแตกต่างกันออกไป เช่น ในวัยเด็กการกระโดโลดเต้น การถามซ้ำๆ เป็นพฤติกรรมที่เป็นลักษณะเฉพาะวัย
8.เด็กทั่วไป
จะผ่านการพัฒนาการทุกขั้นตอนอย่างสะดวกจนอายุประมาณ 21 ปี จึงจะเจริญเต็มที่ทุกๆ ด้าน
การพัฒนาการขึ้นอยู่กับวุฒิภาวะและการเรียนรู้
(วุฒิภาวะและการเรียนรู้เป็นของคู่กัน)
วุฒิภาวะ ทำให้เกิดความพร้อมของร่างกายที่จะทำให้มีความสามารถในการกระทำอย่างหนึ่งได้
การเรียนรู้ จะช่วยฝึกฝนทำให้เกิดความชำนาญ
แนวคิดทางจิตวิทยา
1.กลุ่มโครงสร้างทางจิต
2.กลุ่มหน้าที่ของจิต
วิลเฮล์ม วุ้นด์ท(Wihelm Wundt)
แบ่งแนวคิดทางการศึกษาได้ 3 ชนิด
เจ้าของความคิดเรียกว่า ธาตุทางจิต(Mental element)
1.การรู้สึก(Sensation)ปฏิกิริยาตอบสนองสิ่งเร้าผ่านอวัยวะ เช่น การมองเห็นตา จมูกได้กลิ่น เป็นต้น
2.อารมณ์(Feeling) อารมณ์ตอบสนองสิ่งที่กระทบ เช่น รัก สนุกสนาน และอิจฉาริษยา
3.จินตนาการ(Image)เป็นการคิดวิเคราะห์ จินตนาการจากอารมณ์ที่รู้สึก
เริ่มต้นปี ค.ศ.1890 นักจิตวิทยา 4 คนได้รวมตัวเพื่อคิด แนวคิดของกลุ่มหน้าที่ ทางจิตใจให้ความสำคัญกับวิธีการที่มนุษย์ใช้ในการปรับตัวให้กับสิ่งแวดล้อม
จิตเป็นตัวก่อให้เกิดปัญหาเป็นอวัยวะที่สำคัญที่สุดที่มนุษย์ใช้ในการปรับตัว
นักจิตวิทยา 4 คนได้แก่
วิลเลียม เจมส์ (William James)
จอห์น ดุย ( John Dewey)
เจมส์ เองเจลล์ (James R. Angell)
ฮาวี่ คาร์ (Harvey Carr)
3.กลุ่มพฤติกรรมนิยม
ผู้นำแนวคิดสำคัญ คือ จอห์น บี วัตสัน (John B. Watsan 1878-1958)
จอห์น บี วัตสัน ผู้ที่มีแนวคิดคัดค้านกับนักจิตวิทยาที่นิยมวิธีการศึกษาพฤติกรรมด้วยวิธีภายใน และไม่สนใจเกี่ยวกับสิ่งที่เกิดขึ้นภายในอินทรีย์
เพราะผลที่เกิดมันมีแนวโน้มที่เกิดจากอคติส่วนบุคคลไปในทางใดทางหนึ่ง แล้วแต่ความรู้สึกของผู้ศึกษาเอง
ทำให้ วัตสัน ได้รับการยกย่องว่าเป็นบิดาของจิตวิทยาสมัยใหม่
พฤติกรรมนิยมเน้นว่าพฤติกรรมทุกอย่างต้องมีเหตุผลและเหตุผลนั้นอาจมาจากสิ่งเร้าในรูปใดก็ได้มากระทบอินทรีย์ (สิ่งมีชีวิต)
4.กลุ่มเกสตอลท์
นอกจากการศึกษาเกี่ยวกับการรับรู้แล้ว นักจิตวิทยากลุ่มนี้ยังศึกษาเกี่ยวกับการเรียนรู้ เรียกว่า การหยั่งรู้(Insight)
กล่าวคือ การเรียนรู้จะไม่เป็นไปในลักษณะค่อยเป็นค่อยไป คือ ถ้าไม่รู้ก็ไม่รู้เลย แต่ถ้ารู้ก็รู้หมด
จึงกล่าวได้ว่ากลุ่มนี้เป็นต้นกำเนิดของ การพัฒนาจิตวิทยากลุ่มความรู้ความเข้าใจ (Cognitive Psychology) ซึ่งเป็นจิตวิทยากลุ่มหนึ่งที่เน้นการศึกษาเรื่อง กระบวนการทำงานภายในสมอง
5.กลุ่มจิตวิทยาวิเคราะห์
ซิกมันด์ ฟรอยด์
เน้นความสำคัญของจิตไร้สำนึก(Unconsciour mind)
จิตส่วนนี้จะรวบรวมความคิด ความต้องการและประสบการณ์ที่ผู้เป็นเจ้าของจิต
ไม่ต้องการหรือปราถนาที่จะจดจำ จึงเก็บกดความรู้สึกต่างๆเหล่านี้ไว้ให้อยู่ในจิตส่วนนี้
จิตไร้สำนึกของมนุษย์เป็นจิต
ที่เกิดจากความขัดแย้งของหลัก 2 ประการ
หลักแห่งความพอใจ (Principle of Pleasure)
หลักแห่งความเป็นจริง (Principle of Reality)
โดยทั่วไปมนุษย์มีความต้องการโดยสัญชาติญาณ (Instincts)
สัญชาติญาณแห่งกานดำรงพันธ์ (Life Instinct)
ฟรอยได้เน้นถึงสัญชาติญาณทางเพศ (Secual Instinct)
6.กลุ่มการเรียนรู้-การคิด
นักจิตวิทยาในกลุ่มนี้ได้แก่
เพียเจย์ (Jean Piaget)
การรู้การคิด (Cognition) คือ กระบวนการทางจิตซึ่งทำการเปลี่ยนข้อมูลที่ผ่านเข้ามาทางประสามสัมผัสไปในรูปแบบต่างๆ
กระบวนการทำหน้าที่ตั้งแต่ ลดจำนวนข้อมูล (Reduced) เปลี่ยนรหัส (Code)
และส่งไปเก็บไว้ (Store) ในหน่วยความจำและรื้อฟื้นเรียกคืน (Retrieve)
สามารถเรียกกลับมาคืนได้เมื่อต้องการ การรับรู้ จินตนาการ การแก้ปัญหา การจำได้ และการคิด
พฤติกรรมของมนุษย์ส่วนมาก ไม่ใช่เพียงอต่ทำปฏิกริยาตอบสนอง
แต่เราสามารถทำการประมวล(Process) สิ่งเร้าต่างๆ ที่ผ่านเข้ามาในประสาทสัมผัส
เลือกรับเฉพาะสิ่งเร้าเฉพาะอย่าง เก็บไว้ในหน่วยความจำ
นำไปผสมผสานกับข้อมูลเดิมที่มีอยู่แล้วอย่างมีระบบ
7.กลุ่มมนุษย์นิยม
นักจิตวิทยาในกลุ่มนี้
มาสโลว์ (Abraham Maslow)
โรเจอร์ส (Carl Roger)
นักจิตวิทยากลุ่มนี้เชื่อว่าเราวามาถดข้าใจถึงธรรมชาติของมนุษย์ได้ดีขึ้นด้วยการศึกษาถึงการรับรู้ของบุคคลที่เกี่ยวกับตนเอง
นักจิตวิทยากลุ่มนี้ไม่เชื่อว่ามนุษย์ราถูกควบคุมด้วยสิ่งเร้าภายนอกและไม่เชื่อว่ามนุษย์เราถูกควบคุมโดยสัญชาติญาณที่อยู่จิตไร้สำนึก
แต่พวกเขาเชื่อกันว่า มนุษย์มีอิสระในการเลือกการกระทำหรือกำหนดการกระทำของเราเอง
เราไม่ได้ทำอะไรลงไป เนื่องจากถูกควบคุมหรือบังคับจากพลังภายนอกหรือสิ่งแวดล้อมแต่เรามีอิสระในการเลือกกระทำ
สามารถกำหนดอนาคตของตนเองและยังเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมไปตามื่เราต้องการ
นักจิตวิทยากลุ่มนี้ยังเชื่อว่ามนุษย์เรามีคุณลักษณะที่สำคัญที่ทำให้เราแตกต่างไปจากสัตว์ คือ มนุษย์เรามีความมุ่งมั่นอยากที่จะเป็นอิสระ
สามารถกำหนดตัวเองให้มีแรงจูงใจ
(Motivational Force)
ซึ่งหมายถึงการพัฒนาความรู้ความสามารถ
ที่ตนเองมีอยู่ให้เต็มที่ (Self-Actualization)
นางสาวเมธาพร บุพศิริ
641201202