Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วิถีชีวิตและวัฒนธรรม - Coggle Diagram
วิถีชีวิตและวัฒนธรรม
บทที่1 พัฒนาการของศาสนาและความเชื่อในอุษาคเนย์
เรื่องผีฟ้าพญาแกน และผีบรรพชน
ผีฟ้าเป็นผีฝ่ายดี ต้องมีผู้หญิงเอาใจ เพื่อคาดหวังผลผลิตทางเกษตรกรรม
ผีบรรพชน บุคคลที่สร้างความรุ่งเรืองในชุมชน มีวัฒนธรรมหินตั้งเป็นสัญลักษณ์
ความเชื่อเรื่องนัต
มาจากภาษาบาลี หมายถึงเป็นที่พึ่ง เช่น พระพุทธเจ้า พระอรหันต์ มีการใช้หิ้งบูชาใกล้พระพุทธรูป ทั้งที่บ้านอละที่สาธารณะ
ความเชื่อชวาเกอยาเวน
ผสมผสนระหว่างศาสนาฮินดู + ความเชื่อดั้งเดิม + ความเชื่อในศาสนาอิสลามหรือคริสต์
ความเชื่อเรื่องขวัญ
ขวัญไม่มีตัวตน แต่อยู่กับสิ่งมีชีวิตตลอดเวลา
มีทั้งไทย ลาว พม่า เวียดนาม
อยู่ที่กระหม่อมตามความเชื่อของไทย เป็นอวัยวะศักดิ์สิทธิ์
ความเชื่อเรื่องพระพุทธศาสนา นิกายเถรวาทหลังกาวงศ์
สมัยสุโขทัย พุทธศตวรรษที่ 19 ผสมผสานกับพราหมณ์
หลังจากศตวรรษที่ 19 มีการนำพระพุทธศาสนาจากลังกา
ไตรภูมิพระร่วง
จากพระมหาธรรมราชา แต่งขึ้นราว พ.ศ.1888
เป็นเรื่องราวสั่งสอนให้ประชาชนกลัวบาปเพื่อไม่ให้ตกนรก และมีความหมายทางการเมืองร่วมด้วย
เป็นวรรณคดีไทยเล่มแรก พูดถึง ภพภูมิทั้งสาม
พบได้ในการออกแบบและตกแต่งศาสนาสภานทางพุทธศาสนาจนถึงปัจจุบัน
ไตรภูมิทั้งสาม
นรกภูมิ
อเวจีมหานรก
นรกเป็น
เปรตภูมิ
อสุรภมิ
เดรัจฉานภูมิ
มนุษยภูมิ
ศูนย์กลางจักรวาล
สวรรค์ 6 ชั้นฟ้า
จาตุมฟาราชิกา
ดาวดึงส์
ยามา
ดุสิต
นิมมานรดี
ปรมิมมิตวสวัตดี
รูปภูมิ หรือ รูปพรหม 16 ภูมิ
กามภูมิ11
รูปภูมิ 16
อรูปภูทิ 4
พุทธศาสนาในประเทศไทย
พุทธศาสนาแบบชาวบ้าน เน้นการปฏิบัติตามประเพณี การนับถือสืบต่อกันมา
พุทธศาสนาแบบนักวิชาการ จะไม่เน้นกรอบประเพณี วัฒนธรรม จะเปลี่ยนแปลงไปได้ตามการศึกษา
บทที่ 4 ประเพณีและพิธีกรรมในสังคมไทย
ประเพณีถอดกฐิน
ประเพณีลอยกระทง
มีที่มาจากอินเดีย
ลอยเพื่อบูชาแม่น้ำคงคา บูชารอยพระพุทธบาท
ลอยกระทงสาย จังหวัดตาก
ประเพณียี่เป็ง
ลอยกระทงล้านน้าในวันเพ็ญเดือน 2
วันขึ้นปีใหม่ไทย
ประเพณีตักบาตรดอกไม้ จ.สระบุรี
ช่วงเข้าพรรษาของทุกปี
ประเพณีโยนบัว จ.สมุทรปราการ
วันก่อนออกพรรษา 1 วัน
ส่งบัวและรับกันมือต่อมือ
ประเพณีตักบาตรเทโว
การตักบาตรดาวดึงส์
ประเพณีการทำขวัญดือน
พิธีการโกนจุก
พิธีการบวชเณร
ประเพณ๊ที่เกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนา
วันวิสาขบูชา
ย่อจากคำว่า วิสาขปูรณมีบูชา
บูชาพระในวันเพ็ญ เดือน 6
วันอาสาฬหบูชา
ย่อมาจาก อาสาฬหปูรณมีบูชา
การบูชาพระในวันเพ็ญ เดือน 8
มีเหตุการณ์สำคัญ 3 เหตุการณ์
แสดงปฐมเทศนา ธัมมจักกัปปวัฒนสูตร
พระอัญญาโกณทัญญะ ได้ดวงตาเห็นธรรม
เกิดพระรัตนตรัย ครบ 3 ประการ
บทที่ 5 ศิลปะในดินแดนไทย การเล่นดนตรีไทย
ความแตกต่างระหว่าง อุโบสถ วิหาร ศาลาการเปรียญ
อุโบสถ คือ อาคารสำคัญของวัด มีการเรียกตามฐานะของวัด พระอารามหลวงเรียกว่า พระอุโบสถ
วิหาร คือ อาคารที่ใช้เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปองค์สำคัญ
ศาลาการเปรียญ คือ สำหรับภิกษุ สามเณรปฏิบัติธรรม
ความแตกต่างระหว่างสถูป เจดีย์ ปรางค์
สถูป มาจากภาษาสันสกฤต หมายถึง สะสม
เจดีย์ การดมดินสูงกว่าระดับพื้น สร้างห้องที่ไว้ฝังร่าง
ปรางค์ ได้มาจากศิลปะจากเขมร เป็นสัญลักษณ์ของพระสุเมรุ
พิธีกรรมการละเล่นที่เกี่ยวข้องกับอำนาจกษัตริย์
พิธีโล้ชิงช้า ถูกยกเลิก พ.ศ. 2475
พระราชพิธีแข่งเรือเสี่ยงทายในสมัยกรุงศรีอยุธยา
การชักนาคดึกดำบรรพ์
พืธีกรรมการละเล่นที่เกี่ยวข้องกับคติความเชื่อเรื่องความอุดมสมบูรณ์
การละเล่นผีตาโขน
การแห่นางแมว
การทรงแม่ศรี
พิธีกรรมที่เกี่ยวข้องกับวิถีชุมชนและการอยู่ในสังคม
การบายศรีสู่ขวัญ
การรำผีฟ้า
การเล่นสะบ้าชาวมอญ
การเต้นรำกำเคียว
พิธีกรรมเกี่ยวกับพัฒนาเด็ก
การละเล่นมอญซ่อนผ้า
การเล่นม้าก้านกล้วย
การก่อเจดีย์ทราย
การเล่นหุ่น
หุ่นใหญ๋ หุ่นหลวง
มีความสูงประมาณ 1 เมตร
ใช้คนเชิดหุ่น 3 คน
แสดงท่าทางเหมือนละครใน
หุ่นเล็ก หุ่นกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ
มีความสูงราว 1 ฟุต
สร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 2
เป็นเรื่องของจีน
หุ่นกระบอก
มีความสูงราว 18-20 นิ้ว
ไม่มีส่วนขา
ลำตัวเป็นไม้กระบอก
จัดเฉพาะแสดงให้ขุนนางและชาววังชมเท่านั้น
หุ่นละครเล็ก
เกิดขึ้นโดย นายแกร ศัพทวนิช
หุ่นตัวแรกที่สร้างคือ หุ่นตัวพระ
ต่อมาสืบทอดโดยคณะโจหลุยส์
โขน
โขนโรงนอก
การแสดงบนโรงมีหลังคา
ไม่มีการร้อง
โขนหน้าจอ
เชิดหนังใหญ๋อยู่หน้าจอผ้าขาว
โขนกลางแปลง
นิยมแสดงกลางสนาม
ตอนรบระหว่างยักษ์กับลิง
โขนโรงใน
นำศิลปะละครในมาผสม
มีการออกท่าเต้น และการพากย์
โขนฉาก
เกิดขึ้นในรัชกาลที่ี 5
คล้ายละครดึกดำบรรพ์
การเล่นระบำรำฟ้อนของภาคต่างๆ
ภาคกลาง
รำวง
เต้นกำรำเคียว
เพลงอีแซว
ภาคใต้
มีลีลารวดเร็ว
รำโนรา
การร้องรองเง็ง
ภาคเหนือ
มีลีลาอ่อนช้อย งดงาม
การฟ้อนแง้น
ฟ้อนสาวไหม
ภาคอีสาน
ฟ้องและเซิ้ง
ลีลารวดเร็ว สนุกสนาน
บทที่ 2 พัฒนาการของการตั้งถิ่นฐานในอุษาคเนย์
สมัยก่อนประวัติศาสตร์
ช่วงเวลาที่ดินแดนไทยยังไม่มีการทำตัวอักษรขึ้น มีแค่ภาษาพูดเท่านั้น และการศึกษาด้านโบราณคดีของไทย ได้เกิดขึ้นช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2
เรื่องราวสมัยก่อนประวัติศาสตร์ในไทย
ยุคหิน
ยุคโลหะ
ยุคไพลสโตซีน
เวลาระหว่าง 1,800,000-100,000 ปี
มีแผ่นดินซุนดาเป็นแหล่งโบราณคดีในฟมู่เกาะมาเลเซีย อินโดนีเซีย และฟิลิปปินส์
มนุษย์รู้จักใช้ไฟและเครื่องมือหิน
มนุษย์ยุคหินเก่า
1.8ล้านปี - 100,000 ปี
มนุษย์ผู้เดินตัวตรง
ออกจากถ้ำมาตั้งถิ่นฐานเป็นยุคหินใหม่
8,000 - 3,000 ปี
พบเครื่องมือขวานหินขัดเป็นหลักฐาน
การกระเทาะที่ประณีตขึ้นกว่าระยะยุคหินเก่า
พัฒนาการมนุษย์มีความเชื่องช้า
หาอาหารตามธรรมชาติ
แหล่งโบราณคดีสไคัญสมัยหินใหม่ที่พบในดินแดนไทย
แหล่งโบราณคดีบ้านเก่า ต.จระเข้เผือก อ.เมือง จ.กาญจนบุรี
โครงกระดูกสมัยหินใหม่ 42 โครง
มีอายุราว 4,000 ปี
เศษภาชนะดินเผากว่า 1,000,000 ชิ้น
แหล่งโบราณคดีบ้านเชียง
ช่วงต้น พิธีกรรมฝังศพที่บ้านเชียงรุ่นแรก พบขวานหินขัดและเครื่องประดับที่ทำมาจากหิน
ช่วงกลาง สมัยสำริด พบเครื่องมือที่ทำจากสำริด โลหะผสมทองแดง กับดีบุก นิยมภาชนะทรงกระบอก
ช่วงปลาย นำเหล็กมาแทนสำริด ภาชนะมีเนื้อดินสีขาวนวลที่ทำจากดินเผา มีพิธีกรรมการฝังโดยเฉพาะ
สรุปความเป็นอยู่ของชุมชนยุคโลหะในดินแดนไทย
ตั้งบ้านรือนเป็นกลุ่มใหญ่
มีบ้านใกล้แม่น้ำ ลำธาร นิยมปลูกข้าว เลี้ยงสัตว์
มีงานศิลปะ ที่เรียกว่า ศิลปะถ้ำ
ก่อนรับอิทธิพลจากอินเดีย
พิธีศพ
การแต่งกาย
ขวัญ
แม่หญิงเป็นใหญ่
สัตว์ศักดิ์สิทธิ์
นาคและนางนาค
ศาสนาผี
เรือนเสาสูง
อาหารหลัก (ข้าว)
เทคโนโลยีและเครื่องโลหะเพื่อตีส่งเสียงสื่อสารกับอำนาจศักดิ์สิทธิ์
บททีี่ 6 วิถีชีวิตกับวัฒนธรรม
ความเป็นมาของสาทร
พุทธศักราช 2146 พระนเรศวรย้ายทหารอาสาวิลันดา มาที่บางกอก
พุทธศักราช 2367 พระราชทานชื่อวัดญาณนาวา และ 2466 เปลี่ยนเป็นวัดยานนาวา
ปี พ.ศ. 2532 มีการตั้งสำนักงานเขตยานนาวา
9 พ.ย. 2532 ยกสาขายานนาวาขึ้นเป็น เขตสาธร และเปลี่ยนชื่อเป็น สาทร วันที่ 23 เมษายน 2542
ชาติพันธุ์ในสาทร
การอพยนของชนชาติมอญ
อพยพครั้งใหญ๋ในปี พ.ศ. 2127
ชาวรามัญพำนักอยู่ท้ายปากคลองพุทรา
วัดยานนาวาเป็นศูนย์รวมของชนชาติมอญตั้งแต่สมัยพระนเรศวร
มีวัดเปิดเผยแค่ วัดอโยธยาและวัดยานนาวา
วัดยานนาวาเคยเป็นวัดร้างหลังจากถูกระเบิดในสงครามโลกครั้งที่ 2
การอพยพของชนชาติจีน
เดินทางเข้ามาลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาและอ่าวไทย
อพยพเข้ามาประมาณ 1 ล้านคน
คนจีนที่เดินทางจะมารับส่งคนและสินค้าที่วัดยานนาวา
มีปัญหาเรื่องที่ฝังศพ เพราะชาวจีนไม่นิยมเผาศพ
บริเวณสาทร วัดดอน และที่ต่างๆ กลายเป็นแหล่งสุสานของชาวจีน
การอพยพของชาวอินโดนิเซีย
พ.ศ. 2184 มีการยึดมะละกาด้วยกำลังทหาร
มีการบังคับให้ชาวอินโดนีเซีย ทำการเกษตร เช่น ไร่กาแฟ ไร่อ้อย
มีการต่อสู้ดิ้นรนเป็นเวลากว่า 300 ปี
หนีมาจากยุคกรุงศรีอยุธยา จนถึงยุคกรุงรัตนโกสินทร์
ปัจจุบันชาวอินโดนีเซียมาตั้งถิ่นฐานอยู่ที่ มัสยิดยะวา
การอพยพของชนชาติยะไข่หรือทวาย
หลังจากมีสงครามกับพม่า มีท่าทีวว่าจะแพ้จึงได้กลับไทย
รัชกาลที่ 1 ได้พระราชทานที่หลวง ณ ตำบลคอกบือ เป็นที่ตั้งรกราก
ในปี พ.ศ. 2340 ได้มีการสร้างวัดดอนขึ้นหลังหมู่บ้านทวาย
การอพยพของชาวอินเดียในเขตสาทร
มีทั้งหมด 5 กลุ่มหลัก
กลุ่มชาวฮินดูจากอุตตรประเทศ
กลุ่มชาวฮินดูจากแคว้นมิกซ์และปัญจาบ
กลุ่มชาวฮินดูจากจากกุจราช
กลุ่มชาวฮินดูจากทมิฬนาดูร์
กลุ่มชาวฮินดูจากเบงกอล
สนธิสัญญาเบาว์ริง
หนังสือสัญญาเซอยอนโบวริง
ลงนามเมื่อ วันที่ 18 เมษายน พ.ศ. 2398
ทำระหว่างอาณาจักรสยามและสหราชอาณาจักร
สาระสำคัญคือการเปิดการค้าเสรี
อนุญาตให้ต่างชาติเข้ามาทำการค้าเสรีในกรุงเทพมหนคร
นักลงทุนชาวตะวันตกในเขตสาทร
ออสเตรเลีย
บราซิล
เยอรมัน
โอมาน
ฝรั่งเศส
วาติกัน
ศาสนาและสถานที่สำคัญในเขตสาทร
ศาสนาพุทธ
วัดยานนาวา
วัดสุทธิวราราม
วัดบรมสถลหรือวัดดอน
วัดปรกมอญแขวงทุ่งวัดดอน
ศาสนาคริสต์คาทอลิก
โบสถ์เซนต์หลุยส์
ศาสนาอิสลาม
มัสยิด ยะวา
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
วัดวิษณุ
สถาบันการศึกษา
โรงเรียนทุ่งมหาเมฆ
โรงเรียนวัดสุทธิวราราม
โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย
โรงเรียนอัสสัมชัญ
โรงเรียนเซนต์หลุยส์ศึกษา
บทที่ 3 ความหลากหลายทางชาติพันธุ์
การเข้ามาของอารยธรรมภายนอกสู่ดินแดนอุษาคเนย์
มีการยกย่องผู้นำชุมชนขึ้นเป็นกษัตริย์ จากคติพราหมณ์
มีการสร้างสถาปัตยกรรมตามความเชื่อใหม่
มีการนำประติมากรรมเทพเจ้าและพระพุทธรูปจากอินเดียเข้ามา
มีการปรับเปลี่ยนความเชื่อในพิธีกรรมการฝังศพ
เริ่มใช้ภาษาปัลวะ ภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต ในราชสำนัก
มีการปรับโครงสร้างสังคมให้มีระบบขึ้น
อารยธรรมมอญ
วัฒณฑรรมที่เรียกว่า วัฒนธรรมทวารดี รุ่งเรืองในศตวรรษที่ 12-16
ที่พบหลักฐานทั้งหมด 107 เมือง ภาคกลางมากที่สุด ที่เหลือคือภาคอีสาน
เมืองนครชัยศรี
เมืองอู่ทอง
เมืองละโว้
เมืองจันแสน
ผู้คนในอาณาจักรทวารดี
ชาวอินเดีย
ชาวจีน
อารยธรรมเขมร
ในปี พ.ศ. 1974 ถูกกษัตริย์กรุงศรีอยุธยายึดครองเมิองไว้ได้
เริ่มในพุทธศตวรรษที่ 14 เมื่อพระชัยวรมันที่ 2 รวบรวมแคว้นเจนละบกและแคว้นเจนละน้ำเข้าด้วยกัน
รับความเชื่อเรื่อง "เทวราชา" มาสถาปนาใช้ในอาณจักรของพระองค์
สร้างปราสาทบนที่ราบกลางเมือง แต่มีลักษณะเป็น "ศาสนสถานบนฐานเป็นชั้น"
ในปี พ.ศ. 1974 ถูกกษัตริย์แห่งศรีอยุธยายืดเมืองนครหลวงไว้ได้
กลุ่มภาษา ไทกะได / ไตกะได
เป็นภาษาที่มีชื่อเสียงวรรณยุกต์ที่พบในตอนใต้ของจีนและอุษาคเนย์
แต่ละกลุ่มจะพบภาษาที่สำเนียงที่ใกล้เคียงกัน
หลังพุทธศตวรรณที่ 15 มีการเคลื่อนย้ายมาในลุ่มน้ำภาคกลางของไทย
นักโบราญคดีได้พบหลักฐานชุมชนโบราณบริเวณริมลำน้ำสายต่างๆ ในภาคกลางของไทย
พัฒนาการของอาณาจักรในดินแดนไทย
มีเมืองใหญ่สมัยทวารวดี คือ เมืองละโว้
พ.ศ. 2482 จอมพล ป. พิบูลสงคราม เปลี่ยนชื่อจากสยาม เป็นประเทศไทย
มีความสัมพันธ์กับรัฐสุพรรณภูมิผ่านการแต่ง
งาน
สถาปนากรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานีใหม่
โรคห่าระบาด
แม่น้ำ 3 สาย ได้รับฉายาว่า เวนิสแห่งตะวันออก
ความรุ่งเรืองทางการค้า
เป็นศูนย์กลางทางการค้านานาชาติ
มีกลุ่มคนจีนเก่าและจีนใหม่อพยพมาในสยาม
มีความหลากหลายทางชาติพันธุ์ ตั้งแต่ศตวรรษ 1950