Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
PBL GDM, กลไกเบาหวาน, เจาะน้ำตาล, คนท้องกิน, ทารก, แอปคนท้อง, abortion,…
PBL GDM
- เจ้าหน้าที่ต้องสร้างสัมพันธภาพระหว่างสตรีตั้งครรภ์และครอบครัว เพื่อให้สตรีตั้งครรภ์เกิดความไว้วางใจ คลายความวิตกกังวล เกิดกำลังใจและให้ความร่วมมือในการรักษาพยาบาล
- การใช้ประโยชน์จากสื่อ แผ่นพับ วิดีโอ social mediaในการค้นหาข้อมูล รูปภาพ ส่อ เรื่องภาวะเบาหวานขณะต้งครรภ์ เพื่อให้สตรีตั้งครรภ์ห็นภาพชัดเจน
- การให้ความรู้เรื่องการรับประทานอาหารที่เหมาะสมของสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะเบาหวานตั้งแต่ได้รับการวินิจฉัยครั้งแรก
- จัดตั้ง Line application self help group ให้คำปรึกษาสตรีตั้งครรภ์ขณะอยู่ที่บ้าน
- สตรีตั้งครรภ์และครอบครัวต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินของโรค ภาวะแทรกซ้อน การดูแล รักษา และสามารถประเมินสภาพเพื่อดูแลตนเองได้
การตรวจร่างกาย
- ตรวจครรภ์ พบว่าครรภ์ ใหญ่กว่าปกติ หรือพบครรภ์แฝด (hydramnios)
- ตรวจพบความผิดปกติของระบบต่างๆ จากเบาหวาน ความดันโลหิตสูงในขณะตั้งครรภ์
- รูปร่างอ้วน, มีภาวะอ้วน BMI > 30 km/m2
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
- ตรวจพบน้ำตาลในปัสสาวะ(Persistent glucosuria 1+ > 2ครั้ง/marked glucosurai มากกว่าหรือเท่ากับ 3+ ครั้งเดียว)
- การตรวจหาระดับน้ำตาลในกระแสเลือด
- 50 gm GCT มากกว่าหรือเท่ากับ140 mg/dL
- 100 gm OGTT มากกว่าหรือเท่ากับ 95/180/155/140 mg/dL
Class A1 FBS ปกติ แต่มีค่าผิดปกติ 2 ใน 3 ค่าของค่าท่ 1, 2, 3 ชั่วโมงหลังรับประทานกลูโคส
Class A2 FBS ผิดปกติ (ตรวจอย่างน้อย 2 คร้ง) OGTT ผิดปกติ 1 ค่า
แนะนำตรวจซ้ำอีก 1 เดือน แต่ในบางกรณีถ้า FBS > 126 mg/dL, Random plasma glucose > 200 mg/dL หรือ50 gm GCT > 200 mg/dL
การซักประวัติ
- ประวัติความเสี่ยงต่อการเป็นเบาหวาน เช่น เคยคลอดบุตรน้ำหนักมากกว่า 4,000 g มีประวัติทารกตายคลอด หรือตายโดยไม่ทราบสาเหตุในครรภ์
- ประวัติโรคเบาหวานในครอบครัว
- Plan/5. Action/care/6. Evaluation step
- อธิบายให้สตรีตั้งครรภ์และครอบครัวให้เข้าใจถึงการดำเนินของโรค ภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น แผนการดูแลรักษา พร้อมทั้งเปิดโอกาสให้ซักถามข้อสงสัยเพื่อลดความวิตกกังวล และให้ความร่วมมือ
- ให้คำแนะนำแก่สตรีตั้งครรภ์ เกี่ยวกับการปฏิบัติตัวเพื่อควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น ดังนี้
- การควบคุมอาหาร แนะนำให้รับประทานอาหารให้เพียงพอต่อความต้องการใช้พลังงานของร่างกาย และรับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่หลีกเลี่ยงอาหารหวานจัด และอาหารท่มีคาร์โบไฮเดรตสูง
- ควบคุมน้ำหนักให้เพิ่มในเกณฑ์ปกติ คือ เพิ่มประมาณ 12 kg ตลอดการตั้งครรภ์ แต่ในกรณีท่มีภาวะอ้วนร่วมด้วย น้ำหนักที่เพิ่มไม่ควรเกิน 10 kg
- ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ โดยแนะนำให้ตรวจหาน้ำตาลในปัสสาวะ หรือตรวจหาระดับน้ำตาลในเลือดจากปลายนิ้วตนเอง การอ่านและบันทึกผล
- พักผ่อนอย่างเพียงพอและออกกำลังอย่างสม่ำเสมอ เพื่อส่งเสริมขบวนการ metabolism และนำกลูโคสไปใช้ให้มากขึ้น
- สังเกตและดูแลตนเองเม่อมีภาวะน้ำตาลในเลือดสูง ได้แก่ กระหายน้ำ ปากแห้ง คลื่นไส้อาเจียน ปวดท้อง ท้องผูก สับสน ตาพร่ามัว ปัสสาวะมาก ปวดศีรษะ ผิวหนังร้อนแห้ง หายใจเร็ว อ่อนเพลีย ชีพจรเร็ว หายใจมีกลิ่นอะซีโตน หากเกิดอาการต้องดูแลให้ไดรั้บอินซูลินที่เหมาะสมกับระดับน้ำตาลในเลือด
- สังเกตและดูแลตนเองเมื่อมีภาวะน้ำตาในเลือดต่ำ ได้แก่ หิว เหงื่อออก กระสับกระส่าย อ่อนเพลีย ตามัวหรือเห็นภาพซ้อน มึนงง ปวดศีรษะ ซีด ผิวหนังชื้น แต่ชีพจรปกติ ให้รับประทานของหวานหรือดื่มน้ำหวานทันทีและนอนพัก
- ดูแลรักษาความสะอาดร่างกายและอวัยวะสืบพันธุ์ให้สะอาดอยู่เสมอ
- แนะนำเกี่ยวกับการสังเกตอาการและอาการแสดงของภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น เช่น ภาวะครรภเ์ป็นพิษ การติดเชื้อที่ระบบทางเดินปัสสาวะหรืออวัยวะสืบพันธุ์ การมีเลือดออกทางช่องคลอด เจ็บครรภ์คลอด ภาวะแทรกซ้อนจากการฉีดอินซูลิน หากมีอาการของภาวะแทรกซ้อนจะต้องรีบมาพบแพทย์โดยเร็วที่สุด
- กรณีที่ได้รับยาอินซูลินชนิดฉีด แนะนำวิธีการเตรียมยา วืธีการฉีดยา รวมทั้งย้ำให้เห็นความสำคัญของการฉีดยาอย่างสม่ำเสมอ โดยจะต้องฉีดให้ถูกต้องตามเวลา และปริมาณ
- แนะนำให้นับการดิ้นของทารกในครรภ์ ถ้าดิ้นน้อยลงหรือดิ้นแรงผิดปกติควรมาพบแพทย์
- แนะนำให้มาฝากครรภ์อย่างสม่ำเสมอ เพื่อติดตามอาการ ประเมินสภาวะของสตรีตั้งครรภ์ และให้การรักษาอย่างต่อเนื่อง รวมถึงเพื่อประเมินการเจริญเติบโตและสภาวะของทารกในครรภ์
- ระมัดระวังการเกิดอุบัติเหตุ โดยเฉพาะที่อวัยวะส่วนปลาย เพราะหากเกิดบาดแผลแล้วมักจะหายยาก อาจเกิดการติดเช้อและเนื้อตายได้
ผลต่อมารดา
- ควมคุบเบาหวานยากขึ้น เนื่องจากความต้องการอินซูลินไม่เพียงพอ
- มีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนของหลอดเลือดที่อวัยวะต่างๆ เช่น nephropathy, retinopathy เป็นต้น
- ครรภ์เป็นพิษ (Preclampsia)
- มีโอกาสเกิด polyhydramnios
-
-
- ติดเชื้อง่าย อวัยวะที่ติดเชื้อที่พบบ่อยคือ ระบบปัสสาวะ
- ในไตรมาสที่ 2, 3 จะผลิต HPL H. Estrogen, progesterone,Prolactin ซ่งต้านการทำงานของ insulin เกิดการดื้อInsulin ทำให้น้ำตาลในเลือดสูง
ผลต่อทารก
-
-
-
-
- ขาดออกซิเจนคลอด (birth asphyxia)
- ได้รับบาดเจ็บจากการคลอด (birth injury)
-
-
- มีภาวะเม็ดเลือดแดงมากเกินไป
-
-
- มีภาวะแมกนีเซียมในเลือดต่ำ
-
ระยะแรกมีการสร้าง Estrogen, Progesterone ไปกระตุ้นเบต้า Cell ของตับอ่อนหลั่ง Insulin เพิ่มไขมันและลดการสลายไขมัน เพื่อนำไปใช้ในการเจริญของทารกในช่วงครึ่งงหลังของการต้งครรภ์
ครึ่งหลังการต้งครรภ์ ทารกต้องการ glucose มากขึ้น เพราะขนาดตัวใหญ่ขึ้น ตับจะสร้าง glucose เพิ่มขึ้น เป็นระยะ diabetogenic state เนื่องจาก glucose ในเลือดสูง นอกจากน้นรกมีการสร้าง
ฮอร์โมน human placental lactogen (hPL) ซึ่งมีฤทธิต้าน Insulin ทำให้ glucose สูงในเลือด จึงมีแนวโน้มเป็นเบาหวานขณะต้งครรภ์มากขึ้น
เบาหวานที่วินิจฉัยครั้งแรกขณะตั้งครรภ์ (Gestational DM, GDM)
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-