Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภัยธรรมชาติ - Coggle Diagram
ภัยธรรมชาติ
น้ำท่วม
1.2 น้ำป่าไหลหลาก หรือน้ำท่วมฉับพลัน มักจะเกิดขึ้นในที่ราบต่ำหรือที่ราบลุ่มบริเวณใกล้ภูเขาต้นน้ำ เกิดขึ้นเนื่องจากฝนตกหนักเหนือภูเขาต่อเนื่องเป็นเวลานาน ทำให้จำนวนน้ำสะสมมีปริมาณมากจนพื้นดิน และต้นไม้ดูดซับไม่ไหวไหลบ่าลงสู่ที่ราบต่ำ เบื้องล่างอย่างรวดเร็ว มีอำนาจทำลายร้างรุนแรงระดับหนึ่ง ที่ทำให้บ้านเรือนพังทลายเสียหาย และอาจทำให้เกิดอันตรายถึงชีวิตได้
-
1.3น้ำท่วมขังเป็นลักษณะของอุทกภัยที่เกิดขึ้นจากปริมาณน้ำสะสม จํานวนมากในเขตเมืองใหญ่ที่เกิดจากฝนตกหนักต่อเนื่องเป็นเวลาน านมีสาเหตุมาจากระบบการระบายน้ำไม่ดีพอมีสิ่งก่อสร้างก็ดขวางท างระบายผลกระทบจากการเกิดนําท่วมขัง
1.ปัญหา นําเน่าเหม็นในพื้นที่ๆ ๆท่วมขัง 2.ปัญหาผู้คนตกงานเนื่องจากโรงงานบางแห่งน้ำท่วมขังทำให้ให้ทำ
งานไม่ได้ 3.ปัญหาขยะซึ่งทำให้หลังน้ำลดลงมีขยะที่ต้องทิ้งจำนวนมา
-
1.1 น้ำล้นตลิ่งเกิดจากปริมาณน้ำมากที่เกิดจากฝนตกหนักต่อเนื่อง ที่ไหลลงสู่ลําน้ำ หรือแม่น้ำมีปริมาณมากจนระบบระบายน้ำลงสู่ลุ่มน้ำด้านล่างหรือออ อไปสู่ปากนํ้าไม่ทัน ทําให้เกิดภาวะน้ำล้นตลิ่งเข้าท่วมเข้าบ้านเรือนสวนไร่นาและบ้านเรือนตามสองฝั่งน้ำ ผลกระทบจากการเก็ต าล้นตลิ่งทําให้เกิดภาวะน้าล้นตลิ่งเข้าท่วมบ้านเรือน ไร่นา และบ้านเรือนตามทั้งฝั่ง จนได้รับความเสียถนนหรือสะพานอาจารุต
-
-
หลุมยุบ
สรุปสาเหตุที่ทำให้เกิดหลุมยุบหลังเหตุการ ณ์แผ่นดินไหวและคลื่นยักษ์ คือ เกิดการเปลี่ยนแปลงของระดับน้ำใต้ดินอ
ย่างรวดเร็ว เนื่องจากการเกิดคลื่นยักษ์ทำให้แรงดันข องน้ำและอากาศภายในโพรงเสียสมดุล เกิดการขยับตัวของพื้นที่ซึ่งอาจทำให้เกิดร อยร้าวของเพดานโพรง สืบเนื่องจากการเกิดแผ่นดินไหวอย่างรุนแรง
ปัจจัยที่ทำให้เกิดหลุมยุบ เป็นบริเวณที่มีหินปูนรองรับอยู่ในระดั
-มีโพรงใต้ดินในชั้นหินปูนที่รองรับอยู่ด้านล่าง
-มีการเปลี่ยนแปลงสภาพน้ำใต้ดิน เพดานของโพรงใต้ดินบางและยุบตัวลง
ตะกอนที่ปิดทับอยู่เหนือโพรงใต้ดินไม่สามารถคงสภา พอยู่ได้ เกิดการยุบตัวลงสู่โพรงใต้ดิน
ผลกระทบของการเกิดหลุมยุบ
1 ทำให้กำแพงรั้วบ้านกับต้นไม้พยุงสูงขึ้น
2 ประตูหน้าต่างบิดเบี้ยวทำให้เปิดยาก
3 เกิดแอ่งน้ำขนาดเล็กบริเวณที่ไม่เคยมีแอ่งน้ำมาก่อน
4มีต้นไม้ใบไม้ดอกไม้และพืชผักเหียวเฉาเป็นบริเวณ
-
น้ำกัดเซาะชายฝั่ง
การกัดเซาะชายฝั่ง
เป็นกระบวนการเปลี่ยนแปลงของชายฝั่งทะเลที่เกิดขึ้นต อดเวลาจากการกัดเซาะของคลื่นหรือลม ตะกอนจากที่หนึ่งไปตกทับถมในอีกบริเวณหนึ่ง ทําให้แนวของชายฝั่งเดิมเปลี่ยนแปลงไป บริเวณที่มีตะกอนเคลื่อนเข้ามาน้อยกว่าปริมาณ ตะกุย นคลื่อนออกไป ถือว่าเป็นบริเวณที่มีการกัดเซาะชายฝั่ง
ผลกระทบจากการกัดเซาะชายฝั่ง
1ผลกระทบต่อระบบนิเวศชายฝั่ง การกัดเซาะชายฝั่งมีส่วนทําให้ระบบนิเวศข ายฝั่ง เช่น ทรัพยากรป่าชายเลน
2แนวปะการัง สัตว์น้ำต่างๆ เป็นต้น เกิดความเสียหาย
3จนอาจทําให้ความอุดมสมบูรณ์ทางธรรมชา ติลดน้อยลงหรือถูกทําลายลงในที่สุด
-
แผ่นดินถล่ม
ผลกระทบ
1.เป็นการเร่งให้หน้าดินถูกชะล้างพังทลายเพิ่มขึ้น เมื่อมากๆเข้าป่าจะขาดความอุดมสมบูรณ์
ฝนตกน้อยลงเพราะความข็นจากป่าลดลง ต้นนํ้าจะถูกทําลายูตามมา
ข็งเกิดภาวะแห้งแล้งเพิ่มขึ้นหากไม่รีบป้องกันและแก้ไข
2.เมื่อป่าลดลง สัตว์ป่าก็ลดลงระบบนิเวศน์จึงค่อยๆเสียสมดุล
3.เกิดความเสียหายในชีวิตและทรัพย์สิน
จึงเกิดความกลัว งมีผลต่อจิตใจและสุขภาพกายตามมา
4.ทําให้เส้นทางคมนาคม พื้นที่เพาะปลูกเสียหาย
กระบวนการเกิด
ในขณะที่ดินอุ้มน้ำจนอิ่มตัว แรงยึดเกาะระหว่างมวลดินจะลดลง -
เมื่อฝนตกหนักนํ้าจะซึมลงไปในดินอย่างรวดเร็ว ระดับน้ำใต้ผิวดินสูงขึ้นจะทำให้แรงต้านทานการเลื่อน ไหลของดินลดลง -
เมื่อน้ำใต้ผิวดินมีระดับสูงก็จะไหลภายในช่องว่างของ ดิน ลงมาตามความชันของลาดเขา
-
เเผนดินทรุด
เกิดจากพื้นผิวดินพังทลายเป็นหลุม เกิด จากน้ำในโพรงใต้ดินเหือดแห้ง หรือลดลง จากกระบวนการธรรมชาติ และการสูบน้ำ บาดาลของมนุษย์
-
ผลกระทบจากแผ่นดินทรุด อาจทำให้บ้านเรือนเสียหาย เกิด การเปลี่ยนถิ่นที่อยู่อาศัย เพราะการทรุดตัวลงอาจทำให้พื้นที่ อยู่ต่ำกว่าระดับน้ำทะเล
-