Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Case conference, ANC risk - Coggle Diagram
Case conference
PIH : Pregnancy Induce Hypertension
นิยาม
ภาวะความดันโลหิตสูง (Hypertension) ตามนิยามขององค์การอนามัยโลก หมายถึง ภาวะที่มีความดัน systolic 140 mmHg.ขึ้นไปหรือสูงกว่าเดิม 30 mmHg. และความดัน diastolic 90 mmHg.ขึ้นไปหรือสูงกว่าเดิม 15 mmHg. จากการวัดความดันโลหิตอย่างน้อย 2 ครั้ง ห่างกันไม่น้อยกว่า 6 ชั่วโมง
ปัจจัยเสี่ยง
ครรภ์แรก (primigravida) หรือไม่เคยผ่านการคลอดมาก่อน (nulliparity)
อายุน้อยกว่า 20 หรือมากกว่า 35 ปีขึ้นไป
เคยมีภาวะ preeclampsia ในครรภ์ก่อน
พันธุกรรม ประวัติในครอบครัวโดยเฉพาะมารดา พี่สาว น้องสาว จะเพิ่มความเสี่ยงมากขึ้น
ความเจ็บป่วยทางอายุรกรรม เช่น โรคเบาหวาน โรคไต โรคหลอดเลือด ความดันโลหิตสูง อ้วน ความผิดปกติปัจจัยการแข็งตัวของเลือดแบบ thrombophilias, immunological factors เป็นต้น
ความผิดปกติทางสูติกรรม ภาวะที่รกทำงานเพิ่มขึ้นกว่าปกติ (hyperplacentosis) จากการเพิ่มมวลของรก หรือ รกใหญ่กว่าปกติ เช่น เบาหวาน ครรภ์แฝด ครรภ์แฝดน้ำ และ ภาวะทารกบวมน้ำ และการตั้งครรภ์ไข่ปลาอุก Rh incompatibility ทารกเป็น trisomy 13 เป็นต้น
ภาวะโภชนาการ เช่น ขาดวิตามินซี วิตามินอี ขาดแคลเซียม โรคอ้วน เป็นต้น
หญิงตั้งครรภ์ G1P0000 GA 39+5wk
แบ่งเป็น 4 กลุ่มหลัก
1.Gestational Hypertension
หมายถึง ภาวะความดันโลหิตสูงที่วินิจฉัยเป็นครั้งแรกในระหว่างตั้งครรภ์ ไม่พบโปรตีนในปัสสาวะ ความดันโลหิตกลับสู่ระดับปกติภายใน 12 สัปดาห์หลังคลอด
Chronic Hypertension
หมายถึง ภาวะความดันโลหิตสูงที่เป็นมาก่อนการตั้งครรภ์ หรือวินิจฉัยได้ก่อนอายุครรภ์ 20 สัปดาห์จากสาเหตุอื่น ๆ ที่ไม่ใช่ gestational trophoblastic disease หรือภาวะความดันโลหิตสูงที่วินิจฉัยได้ครั้งแรกหลังอายุครรภ์ 20 สัปดาห์ และความดันโลหิตยังคงสูงอยู่นานกว่า 12 สัปดาห์หลังคลอด
3. Preeclampsia
หมายถึง ภาวะความดันโลหิตสูงที่พบครั้งแรกในขณะตั้งครรภ์หลังอายุครรภ์ 20 สัปดาห์ ร่วมกับมีโปรตีนในปัสสาวะ มากกว่าหรือเท่ากับ 300 mg/24 hr หรือ ≥ 1+ dipstick ซึ่งใช้เป็นเกณฑ์ขั้นต่ำในการวินิจฉัยภาวะนี้ โดยอาจมีภาวะบวมผิดปกติร่วมด้วยหรือไม่ก็ได้
Eclampsia หมายถึง ภาวะความดันโลหิตสูงชนิดที่มีโปรตีนในปัสสาวะ (Preeclampsia) และมีภาวะชักร่วมด้วย หาสาเหตุการชักไม่ได้ ทั้งนี้การชักไม่ได้เกิดจากสาเหตุอื่นๆ เช่น ลมบ้าหมู หรือโรคทางสมอง
ภาวะความดันโลหิตสูงชนิดที่มีโปรตีนในปัสสาวะชนิดไม่รุนแรง (Mild preeclampsia)
ภาวะความดันโลหิตสูงชนิดที่มีโปรตีนในปัสสาวะ ชนิดรุนแรง (Severe preeclampsia) โดยอาศัยอาการ อาการแสดง และผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
อาการแสดง
ความดันโลหิตสูงขั้นวิกฤต คือ ความดันโลหิต systolic > 160 mmHg หรือค่า ความดันโลหิต diastolic ≥ 110 mmHg เป็นเวลาอย่างน้อย 6 ชั่วโมง
น้ำท่วมปอด (pulmonary edema)
Eclampsia คือ มีอาการชักแบบซักทั้งตัว (generalized tonic clonic seizure) และ/หรือ ผู้ป่วยหมดสติโดยอธิบายด้วยสาเหตุอื่นไม่ได้
เลือดออกในสมอง (cerebral hemorrhage)
ตาบอดจากพยาธิสภาพของ preeclampsia ในสมอง (cortical blindness)
อาการ
อาการทางระบบประสาท ปวดศีรษะอย่างรุนแรง สายตาพร่ามัว มีจุดบอดในลาน สายตา (Scotomata) ซึมลง และ/หรือหมดสติ
อาการจุกแน่นลิ้นปี่ หรือปวดใต้ชายโครงขวา (epigastric or right upper quadrant pain) เนื่องจากการยืดขยายหรือการแตกของเยื่อหุ้มตับ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Proteinuria ตั้งแต่ 5 กรัมขึ้นไปใน 24 ชั่วโมง หรือ 3+ dipstick ขึ้นไ ขึ้นไป 2 ครั้ง ห่างกันอย่างน้อย 4 ชั่วโมง (บางแห่งใช้เกณฑ์ proteinuria > 2.0 g/24 hours or > 2+)
ภาวะไตวาย serum creatinine > 1.4 mg/dL หรือปริมาณปัสสาวะออกน้อยกว่า 500 มิลลิลิตร ใน 24 ชั่วโมง ภายหลังจากได้รับน้ำอย่างเพียงพอ
การทำงานของตับผิดปกติ ระดับเอนไซม์ AST และ/หรือ ALT สูงกว่า 70 IU/L หรือมากกว่า 2 เท่าของค่าเดิม
1 more item...
เกล็ดเลือดตำ่ (thrombocytopenia) มี platelet count < 100, 000/mm^3
ระบบการแข็งตัวของเลือดผิดปกติ (Coagulopathy)
HELLP syndrome
3 more items...
การวินิจฉัย
5 more items...
UPCR > 0.3
1 more item...
ทารกในครรภ์มีภาวะเจริญเติบโตช้า (intrauterine growth restriction)
SBP อยู่ในช่วง 140 - 150 mmHg.
DBP อยู่ในช่วง 88 - 101 mmHg.
Superimposed preeclampsia on chronic hypertension
เดิมเรียกว่า pregnancy aggravated hypertension หมายถึง ภาวะ preeclampsia ที่เกิดขึ้นใน ผู้ป่วย chronic hypertension การวินิจฉัยภาวะ superimposed preeclampsia ในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงเรื้อรังที่ไม่เคยมีโปรตีนในปัสสาวะก่อนอายุครรภ์ 20 สัปดาห์
ข้อมูลผู้ป่วย
หญิงตั้งครรภ์ อายุ 29 ปี G1P0000 GA 39+5 wk by date
อาการสำคัญที่มา รพ.....เจ็บครรภ์ 6 ชั่วโมง ก่อนมาโรงพยาบาล…
ซักปร ะวัติ พบว่า
ประวัติการเจ็บป่วยของตนเอง : ปฏิเสธ
ประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัว : บิดาผู้ป่วยเป็นโรคเบาหวาน , มารดาผู้ป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง
ตรวจคักรองเบาหวาน ด้วย BS 50 gm.
GCT = 184 mg/dl
( ค่าปกติ < 120 mg/dl)
นัดตรวจ 100 gm. OGTT ในอีก 1 สัปดาห์
OGTT = 94, 224, 187,147 mg/dl
มีค่าผิดปกติ 3 ค่า
(ค่าปกติไม่เกิน 95, 180, 155,140)
เป็น GDM
แยก type โดย FBS และ 2 hr PP
FBS < 95 mg/dl และ
2 hr PP < 120 mg/dl
2 more items...
FBS > 95 mg/dl และ
2 hr PP > 120 mg/dl
1 more item...
นัดตรวจ FBS แล 2 hr PP
FBS = 75 mg/dl
2 hr PP = 97 mg/dl
ประวัติการผ่าตัด : ปฏิเสธ
การแพ้ยาแพ้อาหาร : ปฏิเสธ
สูบบุหรี่หรือเสพยา : ปฏิเสธ
น้ำหนักก่อนตั้งครรภ์ 48 กิโลกรัม ส่วนสูง 155 เซนติเมตร BMI = 19.98 (อยู่ในเกณฑ์ปกติ)
TWG = 20.9
Excessive weight gain
อาการแรกรับ
ตรวจร่างกาย พบว่า น้ำหนัก = 68.9 กิโลกรัม, ส่วนสูง 155 เซนติเมตร, ผลตรวจ urine alb/Sugar: Neg/Neg
สัญญาณชีพ : T = 37 องศาเซลเซียส, P = 86 bpm., R = 20 bpm., BP= 148/101 mmHg , Pain score = 4 , O2 sat = 99 %
ผลตรวจร่างกายตั้งแต่หัวจรดเท้า : เยื่อบุตาไม่ซีด ไม่มีฟันผุหรือเหงือกอักเสบ ต่อมไทรอยด์ไม่โต ไม่มีแผลผ่าตัด หัวนมปกติ ไม่มีบอด ไม่มีบุ๋ม แขนขาทั้ง 2 ข้าง ไม่มีบวม No pitting edema
ผลตรวจครรภ์ : ระดับยอดมดลูก ¾ > ระดับสะดือ ,ส่วนนำ Vx , HF, ท่าของทารก OR, FHS = 134 bpm.
ผลตรวจทางช่องคลอด : PV - Cx.dilatation 1 cm., Effacement 25% , Station -2 , MI (Membrane intact)
ผลตรวจการหดรัดตัวของมดลูก : Interval = 8’, Duration = 20”, Intensity ++
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ : UPCR = 0.88 เจาะ lab PIH ผล ALT = 286, AST = 120, LDH = 334
ผลตรวจอื่นๆ : On NST = reactive มี contraction ทุก 10 นาที
สรุปว่าแพทย์ตัดสินใจอย่างไรในการแก้ปัญหา
เนื่องจากแพทย์วินิจฉัยเป็น Severe preeclampsia ในการรักษามารดาอายุครรภ์ 39+5 wk full term ให้ยุติการตั้งครรภ์ และเมื่อ PV dilate 1 cm, Effacement 25%, Station -2, MI (Membrane intact) ปากมดลูกไม่พร้อม แพทย์ตัดสินใจให้ผ่าคลอดทางหน้าท้อง C/S และในการรักษาที่ห้องรอคลอด ผู้ป่วยได้รับยา 50% MgSO4 4 gm + 5%D/W 32 ml IV slow push in 20 min then MgSO4 20 g + 5%D/W 460 ml IV drip rate 25 ml/hr (1g/hr) stat และ RLS 1000 ml IV rate 100 ml/hr แพทย์มี Order ให้ตาม Deep tendon reflex ทุก 4 ชั่วโมง อาการข้างเคียงจากการได้รับยา MgSO4 ตาม Blood pressure (keep BP < 160/110 mmHg.) และ อัตราการหายใจ (keep > 14 ครั้ง/นาที) Urine output (keep > 25 ml/hr) และ Plan เตรียมผ่าตัด C/S และหลังจากผู้ป่วยได้รับการผ่าตัดแล้วดูแลให้ได้รับยา MgSO4 จนครบ 24 ชั่วโมงหลังคลอด
ANC risk