Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความรู้ที่ได้รับ (สัปดาห์ที่7) - Coggle Diagram
ความรู้ที่ได้รับ (สัปดาห์ที่7)
การประเมินสภาพจริง
ความหมาย
การประเมินที่ใช๎เทคนิคการประเมินอยํางหลากหลายวิธี เพื่อตรวจสอบคุณภาพงาน ของผู๎เรียน โดยให๎ผู๎เรียนแสดงพฤติกรรมออกมาตามที่ผู๎วัดต๎องการวัดในบริบท ของความเป็นจริงในชีวิตประจําวัน
แนวคิดและหลักการของการประเมินสภาพจริง
นําการประเมินตนเองมาใช๎เป็นสํวนหนึ่งของการประเมินสภาพที่แท๎จริง
การประเมินสภาพจริง ควรประเมินจากการปฏิบัติจริง และแฟูมสะสมผลงาน
การประเมินต๎องดําเนินการไปพร๎อมกับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน อยํางตํอเนื่อง
ผู๎ประเมินควรมีหลาย ๆ คน โดยมีการประชุมระหวํางกลุํมผู๎ประเมินเพื่อ แลกเปลี่ยนข๎อมูลเกี่ยวกับตัวผู๎เรียน
การประเมินสภาพจริง เป็นการผูกติดผู๎เรียนกับงานที่เป็นจริง โดยพิจารณาจาก งานหลาย ๆ ชิ้น
การประเมินสภาพจริง เป็นการสะท๎อนให๎เห็นการสังเกตสภาพงาน ปัจจุบัน (Current Work) ของผู๎เรียน และสิ่งที่ผู๎เรียนได๎ปฏิบัติจริง
การประเมินสภาพจริง เป็นการวัดและประเมินความก๎าวหน๎าของผู๎เรียน
การประเมินสภาพจริง ไมํเน๎นการประเมินทักษะพื้นฐาน (Basic Skill) แตํเน๎นการประเมินทักษะการคิดที่ซับซ๎อน (Complex Thinking Skill) ที่ใช๎ในการทํางาน ความรํวมมือในการแก๎ปัญหา และการประเมินตนเอง ทั้งภายในและภายนอกห๎องเรียน
ลักษณะของการประเมินสภาพจริง
มีการวัดและประเมินผลด๎วยวิธีการที่หลากหลาย
เป็นการวัดและประเมินผลรอบด๎าน คือ วัดและประเมินด๎านความรู๎ ความคิด ด๎านอารมณ์สังคม และด๎านปฏิบัติการ
มีการวัดและประเมินผลในสถานการณ์จริง เชํน เมื่อผู๎เรียนเรียนเรื่องการเขียน เรียงความแล๎ว ก็ต๎องให๎ผู๎อํานที่เป็นบุคคลทั่วไปเป็นคนอํานและชํวยวัดและประเมินผล
มีการวัดและประเมินผลอยํางตํอเนื่องตลอดระยะเวลาที่จัดกิจกรรมการ เรียนการสอน
มีการให๎ผู๎เรียนเข๎ามามีสํวนรํวมในการวัดและประเมินผลด๎วย เชํน ให๎ผู๎เรียน ประเมินผลงานของตนเอง (Self-Assessment) ประเมินผลงานของเพื่อน
มีเกณฑ์การให๎คะแนน (Scoring Rubrics) เกณฑ์การให๎คะแนนควรเป็น เกณฑ์ที่ผู๎สอนเป็นผู๎สร๎างขึ้นและผู๎เรียนได๎มีสํวนรํวมในการสร๎างด๎วย และควรแจ๎งให๎ ผู๎เรียนได๎ทราบลํวงหน๎า
เป็นการวัดและประเมินผลที่มุํงเน๎นเกี่ยวกับกระบวนการคิดที่ซับซ๎อน พิจารณาความสามารถในการปฏิบัติงาน ศักยภาพของผู๎เรียนในด๎านของผลผลิต และ กระบวนการ มากกวําที่จะวัดและประเมินเกี่ยวกับความรู๎พื้นฐาน
เป็นการวัดและประเมินผลผู๎เรียนด๎วยการมอบหมายงานที่สอดคล๎องกับ ชีวิตประจําวันของผู๎เรียน
ลักษณะของงานตามสภาพจริง
ผู๎เรียนต๎องปฏิบัติมากกวําการทํองจํา การอธิบายหรือการสาธิต
ถ๎าเป็นสถานการณ์จําลองที่ให๎ปฏิบัติ ต๎องกระทําในสถานปฏิบัติงานใน สถานที่เหมือนจริง
ต๎องใช๎การตัดสิน และสร๎างนวัตกรรม
เป็นงานที่ซับซ๎อนที่ผู๎เรียนต๎องใช๎ความรู๎และทักษะในการปฏิบัติงานเป็น อยํางมาก
เป็นงานที่เกิดขึ้นในชีวิตจริง
เป็นงานที่ผู๎เรียนต๎องมีโอกาสได๎ฝึกหัด ได๎ปฏิบัติ ได๎รับการแนะนํา มีผล ย๎อนกลับ
ขั้นตอนการประเมินสภาพจริง
กําหนดผู๎ประเมิน โดยพิจารณาผู๎ประเมินวําจะมีใครบ๎าง
เลือกใช๎เทคนิคและเครื่องมือในการประเมิน ควรมีความหลากหลายและ เหมาะสมกับวัตถุประสงค์และเกณฑ์ในการประเมิน
กําหนดขอบเขตของการประเมิน
กําหนดเวลา และสถานที่ที่จะประเมิน
กําหนดวัตถุประสงค์และเปูาหมายของการประเมิน จะเป็นการประเมิน พัฒนาการและการเรียนรู๎ โดยต๎องสอดคล๎องกับสาระมาตรฐานและจุดประสงค์การ เรียนรู
วิเคราะห์ผลและจัดการข๎อมูลการประเมิน
กําหนดเกณฑ์ในการประเมิน เป็นการกําหนดรายละเอียดในการให๎คะแนน
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินสภาพจริง
การทดสอบ
แบบทดสอบข๎อเขียน
เชํน แบบเลือกตอบ แบบจับคูํ แบบถูก-ผิด เป็นต๎น
แบบทดสอบภาคปฏิบัติ
การสัมภาษณ์
แบบสัมภาษณ์
การตรวจผลงาน
แบบประเมินผลงาน
การสอบถาม
แบบสอบถาม
การสังเกต
การตรวจสอบรายการ
แบบมาตราสํวนประเมินคํา
แบบบันทึก
แบบประเมินพฤติกรรม
การใช๎แฟ้มสะสมผลงาน
แบบบันทึก
แบบประเมินผลงาน
แบบประเมินตนเอง (Self-Assessment)
เกณฑ์การประเมินสภาพจริง
ความหมาย
การประเมินเชิงคุณภาพ ที่สามารถจะแยกแยะระดับความสําเร็จในการเรียน หรือคุณภาพการปฏิบัติของผู๎เรียน
การกำหนดเกณฑ์การประเมิน
ผู๎สอนและผู๎เรียนควรทําความตกลงและกําหนดเกณฑ์การประเมินรํวมกัน
รูปแบบของเกณฑ์การประเมิน
เกณฑ์การประเมินในภาพรวม (Holistic Rubric)
เกณฑ์การประเมินแบบแยกส่วน (Analytic Rubric)
เกณฑ์การประเมินแบบผสมผสาน (Annotated Holistic Rubrics)
คุณภาพของการประเมินสภาพจริง
ความตรง
ความเที่ยง
ประโยชน์ของการประเมินสภาพจริง
จะเอื้อให๎ ผู๎เรียนสามารถเรียนรู๎ได๎อยํางเต็มศักยภาพของแตํละบุคคล
จะเอื้อตํอกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน๎น ผู๎เรียนเป็นศูนย์กลางมากกวํากิจกรรมการเรียนการสอนที่เน๎นผู๎สอนเป็นศูนย์กลาง
การวัดภาคปฏิบัติ
ความหมายของการวัดภาคปฏิบัติ
การวัดภาคปฏิบัติเป็นการวัด พฤติกรรมที่เป็นความสามารถในด๎านทักษะของผู๎เรียน โดยการให๎ผู๎เรียนแสดงออกมา ด๎วยการปฏิบัติ ตามชิ้นงาน กิจกรรม หรือเหตุการณ์ที่ผู๎สอนกําหนด ซึ่งการวัดจะต๎อง พิจารณาทั้งผลงานและวิธีการปฏิบัติ
ความหมายของแบบวัดภาคปฏิบัติ
แบบวัด ภาคปฏิบัติ หมายถึง แบบวัดที่กําหนดให๎ผู๎สอบแสดงพฤติกรรมออกมาในสถานการณ์ การทดสอบที่จัดทําขึ้น ซึ่งคล๎ายกับสถานการณ์จริงมากที่สุด และมีเปูาหมายในการวัด เป็น 2 สํวน คือ วิธีการปฏิบัติ (Process) และผลงานที่ได๎จากการปฏิบัติ (Product)
ระดับการวัดภาคปฏิบัติ
ระดับการปฏิบัติงานในสถานการณ์จริง (Authentic Performance)
ระดับการปฏิบัติงานจริงโดยใช้ตัวอย่างงาน (Work Sample)
ระดับการวัดจากสถานการณ์จำลอง (Simulated Performance)
ระดับความรู้ (Cognition)
ประเภทของการวัดภาคปฏิบัติ
แบ่งตามปัจจัยที่จะประเมิน
การวัดผลงานหรือผลผลิต (Product)
การวัดทั้งกระบวนการและผลงาน
การวัดกระบวนการ (Process)
แบ่งลักษณะสถานการณ์ให้ปฏิบัติ
สถานการณ์จําลอง (Simulated Setting)
สถานการณ์จริง (Real Setting)
แบ่งตามการเกิดสิ่งเร้า
ใช๎สิ่งเร๎าที่จัดขึ้น (Structure Stimulus)
ใช๎สิ่งเร๎าที่เป็นธรรมชาติ (Natural Stimulus)
แบ่งตามวิธีการวัด
การวัดจากการปฏิบัติด๎วยตัวอยํางงาน (Work Sample Test)
การวัดโดยการแสดง
การวัดโดยการพูดหรือการใช๎วาจา
การวัดโดยการทดสอบเชิงจําแนก (Identification Test)
การวัดโดยการเขียน
กระบวนการวัดภาคปฏิบัติ
กําหนดวิธีการวัดการปฏิบัติงานที่เหมาะสมกับพฤติกรรมที่จะวัด
กําหนดเครื่องมือที่ใช๎และชํวงเวลาที่ทําการวัด
ระบุผลของความสามารถด๎านการปฏิบัติที่จะวัด (Performance Outcome)
กําหนดวิธีการประเมินผลการวัด
กําหนดจุดมุํงหมายของการปฏิบัติ
ขั้นตอนการสร้างแบบวัดภาคปฏิบัติ
ระบุผลงาน สถานการณ์ กระบวนการตําง ๆ ที่ต๎องการให๎ผู๎เรียนแสดงออกหรือปฏิบัติให๎มีความชัดเจน โดยพิจารณาเกณฑ์ การเลือกงานที่ให๎ผู๎เรียนปฏิบัติวําเป็นงานที่มีความสําคัญ เป็นงานที่สามารถปฏิบัติได๎ ในสภาพจริง โดยสิ่งที่วัดอาจจะเป็นพฤติกรรมที่วัดเป็นรายบุคคลหรืองานกลุํม
ลักษณะของงานที่กำหนดให้ผู้เรียนปฏิบัติ
มีเกณฑ์การให๎คะแนน (Scoring Criteria) ที่ชัดเจน
ระบุเงื่อนไขความสําเร็จของงานอยํางชัดเจน (Constraints for Completing The Task)
เป็นงานที่ท๎าทายและเร๎าใจให๎ผู๎เรียนทํา (Be Challenging and Stimulating to Students)
มีความชัดเจน (Clear)
สามารถทําได๎หลายวิธี (Multiple Solutions)
เป็นงานที่มีความยืดหยุํน (Feasible)
สามารถชํวยให๎ผู๎เรียนทําได๎สําเร็จ (Can Help Students Succeed)
สามารถประเมินผลการเรียนรู๎ได๎หลายด๎าน (To Assess Multiple Learning Targets)
เป็นงานที่มีอยูํจริง (Authentic)
บูรณาการระหวํางเนื้อหากับทักษะที่สําคัญ (Essential Skills)
เกณฑ์การเลือกงานให้ผู้เรียนปฏิบัติ (Criteria for Performance Tasks)
ได๎ปฏิบัติ (Active)
เป็นไปได๎ (Feasible)
นําสนใจ (Engaging)
ใช๎ดุลพินิจ (Equitable)
คุณคํา (Rich)
สภาพจริง (Authentic)
เปิดกว๎าง (Open)
ความสําคัญ (Essential)
เครื่องมือและเทคนิคในการวัดภาคปฏิบัติ
แบบมาตราสํวนประมาณคํา (Rating Scales)
แบบสํารวจพฤติกรรม (Check-lists)
การจัดลําดับคุณภาพ (Ranking Order)
แบบบันทึกตําง ๆ (Record, Anecdotal Records)
การสังเกต (Observation)
เกณฑ์การให้คะแนนการวัดภาคปฏิบัติ
ใช๎เกณฑ์การให๎คะแนนแบบรูบริค
คุณภาพของเครื่องมือวัดภาคปฏิบัติ
หาคามเที่ยง
ปรับปรุงแก๎ไขให๎เหมาะสม
หาความตรง