กลศาสตร์ของการหายใจ
(Mechanics of Breathing)

ปริมาตรและความจุของปอด

กล้ามเนื้อ ที่ใช้ในการหายใจ

ความดันในปอด-ช่องอก ขณะหายใจเข้า-ออก ในปอดปกติ

การเปลี่ยนแปลงความดัน และปริมาตรอากาศ ขณะหายใจเข้า-ออก ในปอดปกติ

ความต้านทานการหายใจ

ความต้านทานการไหลของอากาศ อัตราการไหลของอากาศ ในท่อทางเดินหายใจ

กล้ามเนื้อหายใจเข้า

กระบังลม

เป็นกล้ามเนื้อลายที่กั้นอยู่ระหว่างช่องอกและช่องท้องกว่าร้อยละ 75 ของอากาศ
ที่หายใจเข้าเกิดจากการหดตัวของกระบังลม

กล้ามเนื้อระหว่างซี่โครงด้านนอก

เป็นกล้ามเนื้อลายที่ยึดอยู่ระหว่างซี่โครงทางด้านนอก

กล้ามเนื้อเสริม ได้แก่ กล้ามเนื้อ scalene ช่วยยกกระดูกซี่โครง 2 อันบน กล้ามเนื้อ sternocleidomastoid

กล้ามเนื้อหายใจออก

กล้ามเนื้อหน้าท้อง

กล้ามเนื้อระหว่างช่องซี่โครงด้านใน

Tidal volume (TV หรือ VT )

Inspiratory reserve volume (IRV)

Expiratory reserve volume (ERV

Residual volume (RV)

ในการหายใจเข้า/ออกปกติการระบายอากาศในปอดและท่อทางเดินหายใจจะเป็นระบบเปิดอยู่ตลอดเวลา
ดังนั้นจะเห็นว่าในช่วงสิ้นสุดการหายใจเข้าหรือหายใจออก ค่าความดันในท่อทางเดินหายใจและความดันในถุงลม จะมีค่าเท่ากับความดันบรรยากาศ (PA = Patm)

Transpulmonary pressure(PTP ) ในตำราบางเล่ม เรียกว่า transmural pressure เป็นค่าความแตกต่าง
ระหว่างความดันในถุงลม(alveolar pressure, PA ) - ความดันในช่องเยื่อหุ้มปอด(intrapleural pressure, Ppl)

ค่าปริมาตรและความจุของปอดในคนปกติจะแตกต่างกันตามอายุ เพศ ส่วนสูง เช่น VC ในคนหนุ่มสาวจะสูง
กว่าคนสูงอายุ เพศชายสูงกว่าเพศหญิง ท่ายืนสูงกว่าท่านอนราบ นักกีฬาสูงกว่าผู้ไม่ใช่นักกีฬา

การหายใจเข้าเริ่มจากการหดตัวของกล้ามเนื้อกระบังลม และกล้ามเนื้อระหว่างซี่โครง มีผลเพิ่มปริมาตรของ
ช่องอก Ppl เป็นลบมากขึ้น ค่า PTP เพิ่มมากขึ้น มีผลให้มีการเพิ่มปริมาตรของอากาศในถุงลมปอด จากผลของปริมาตรอากาศในถุงลมปอดที่เพิ่มขึ้นทำให้ห้ค่าความดันในถุงลมปอดลดลงเมื่อเทียบกับความดันบรรยากาศ (Boyle’slaw , P1V1 = P2V2 = constant) เป็นผลให้เกิดการไหลของอากาศจากภายนอกเข้าสู่ปอดจนสิ้นสุดการหายใจเข้า

ความยืดหยุ่น (elastic recoils) ของเนื้อปอดและทรวงอก

ปอดเป็นอวัยวะภายในช่องอกที่ปิดทึบที่มีกระดูกซี่โครงและกล้ามเนื้อเป็นโครงเสริมให้ความแข็งแรง ปอดแต่
ละข้างจะถูกห่อหุ้มด้วยเยื่อหุ้มปอด 2 ชั้น ชั้นในติดอยู่กับเนื้อปอดเรียก visceral pleura ชั้นนอกติดกับผนังของช่องอก เรียก parietal pleura เ

ภาวะผ่อนตาม(compliance)ของปอด

C = ΔV/Δ P

C= ค่า Compliance มีหน่วยเป็น liters / cmH2O

ΔV= ปริมาตรปอดที่เปลี่ยนแปลง Δ P = Transpulmonary pressure ที่เปลี่ยนแปลง

ค่าปริมาตรและความจุของปอด อัตราการไหลของอากาศ ที่วัดได้ จะมีการเปรียบเทียบกับค่าอ้างอิงมาตรฐาน
(ตาม เพศ อายุ น้ำหนัก ส่วนสูง ) ซึ่งถ้ามีค่าต่ำกว่าเกณฑ์ที่กำหนด จะแสดงถึงการเพิ่มค่าความต้านทานการไหลของอากาศในระบบทางเดินหายใจ

ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของท่อทางเดินอากาศเป็นปัจจัยที่สำคัญที่มีผลต่อความ
ต้านทานการไหลของอากาศ ในสภาวะที่มีการเพิ่ม หรือลดขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของท่อทางเดินอากาศขนาด

1200px-Capillary_microcirculation.svg

s8-108

images (2)

download (5)