Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ชายไทยอายุ 30 ปี, Sodium valproate, Perphenazine, วันที่ 15 กรกฎาคม 2552
…
-
-
-
วันที่ 15 กรกฎาคม 2552
ได้รับการวินิจฉัยโรค : schizophrenia เป็นผู้ป่วยรายเก่าและรักษาต่อเนื่องที่โรงพยาบาลพังงา
วันที่ 28 สิงหาคม 2552
ญาติมาขอใบส่งตัวกลับไปรักษา
ที่โรงพยาบาลตะกั่วทุ่ง จังหวัดพังงา
เเละคนไข้มารับยาตลอด
ช่วงเดือนเมษายน-พฤษภาคม 2564
พ่อเลี้ยงมาขอคำปรึกษาว่าช่วงนี้ผู้ป่วยมีอาการฉุนเฉียวมาก พูดอะไรนิดหน่อยก็จะมีอาการหงุดหงิด โมโหง่าย เวลาสื่อสารผู้ป่วยจะเถียงขึ้นมาตลอดพยาบาลจึงแนะนำให้พ่อเลี้ยงกลับไป
ตามดูเเลอย่างใกล้ชิด
1 อาทิตย์ต่อมา
พ่อเลี้ยงกลับมาขอคำปรึกษาที่โรงพยาบาลอีกครั้ง
เนื่องจากคุมไม่ไหวและผู้ป่วยยังมีการหงุดหงิด โมโหง่ายพยาบาลจึงให้ผู้ป่วยมาฉีดยา1เข็มเเล้ว
กลับไปดูเเลต่อเนื่องในชุมชนโดยติดต่อผ่านทาง
บิดาเเละมารดาของผู้ป่วย มีช่วงหนึ่งที่พยาบาลลงไปเยี่ยมบ้านของผู้ป่วยบิดาเเละมารดาจึงเล่าปัญหาของผู้ป่วยให้ฟัง พยาบาลจึงทราบเรื่องราวของผู้ป่วยว่าผู้ป่วยเห็นภาพหลอน
ผู้ป่วยบอกว่าเห็นผีในบ้านตัวเอง
วันที่ 1 กันยายน 2564
วันที่ไปเยี่ยมบ้าน ผู้ป่วยมีสีหน้าสดใส ไม่มีอาการประสาทหลอน ผู้ป่วยบอกว่า รับประทานยาอย่างสม่ำเสมอ ไม่มีอาการข้างเคียงจากกาารได้รับยาเเละผู้ป่วยไม่มีพฤติกรรมก้าวร้าว หรืออารมณ์หงุดหงิดผู้ป่วยให้ความร่วมมือในการตอบคำถามเป็นอย่างดี
-
-
-
-
กิจกรรมการพยาบาล
-ประเมินความคิด อารมณ์พฤติกรรมของผู้ป่วยสังเกตระดับความรุนแรง สีหน้า ท่าทางน้ำเสียงของผู้ป่วย
-ยอมรับและเข้าใจพฤติกรรมของผู้ป่วยเมื่อผู้ป่วยแจ้งอาการผิดปกติที่เกิดขึ้นกับตนเองและไม่โต้แย้ง
-เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยพูดถึงอาการประสาทหลอนและหาวิธีที่จะให้ผู้ป่วยเผชิญอากาประสาทหลอนอย่างเหมาะสม;บอกอาการสัญญาณเตือน อาการที่บ่งบอกว่ามีอาการให้กับญาติของคนไข้เพื่อที่จะได้เฝ้าระวัง เช่น ผู้ป่วยมีอารมณ์หงุดหงิด โมโหมากจนผิดปกติ
-จัดสภาพเเวดล้อมให้เหมาะสมในการเฝ้าระวังเเละจัดเก็บอุปกรณ์ของอันตรายที่ผู้ป่วยอาจมาทำลายตัวเองเเละผู้อื่นได้ เช่น อุปกรณ์ของมีคมต่างๆ
กิจกรรมการพยาบาล
-ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยาตามแผนการรักษาพร้อมสังเกตุอาการผลข้างเคียงที่ไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา เช่น เวียนศีรษะ เห็นภาพซ้อน เดินเซ คลื่นไส้ อาเจียน เพื่อให้ได้รับการช่วยเหลืออย่างทันท่วงที
-ให้ข้อมูลผู้ป่วยเกี่ยวกับผลข้างเคียงของยาที่อาจเกิดขึ้นเพื่อให้ผู้ป่วยสังเกตอาการของ
ตนเองและแจ้งให้พยาบาลทราบได้ทันทีที่มีความผิดปกติขึ้น
-บอกอาการสัญญาณเตือน อาการที่บ่งบอกว่ามีอาการข้างเคียงจากการได้รับยา เเนะนำให้ญาติหรือผู้ดูเเลสังเกตอาการผลข้างเคียงที่ไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา เช่น เวียนศีรษะ เห็นภาพซ้อน เดินเซ คลื่นไส้ อาเจียน จ้ำเลือด เลือดออกตามไรฟัน น้ำหนักเพิ่ม ท้องผูก ง่วงนอน มึนงง
กิจกรรมการพยาบาล
-ประเมินทัศนคติ การรับรู้และทักษะการจัดการเรื่องการรับประทานยา
-แนะนำให้ผู้ดูแลหรือผู้รับบริการตั้งนาฬิกาปลุก เพื่อเป็นการเตือนให้รับประทานยาและป้องกันการหลงลืมทานยา นอกจากนี้ยังสามารถแนะนำให้ผู้รับบริการทำปฏิทินการกินยาในแต่ละวัน
-แนะนำผู้รับบริการไม่ควรเพิ่ม ลด หรือหยุดยาเอง โดยไม่ปรึกษาแพทย์เพราะการหยุดยากะทันหัน อาจทำให้เกิดอาการทางจิตกลับมาเป็นซ้ำและอาจเกิดอาการที่รุนแรงมากขึ้น
-ควรมีการจัดยาที่มีการใส่ในกล่องไว้ ในเเต่ละวันเพื่อที่จะสามารถตรวจสอบได้ง่ายเเละเป็นการป้องกันผู้ป่วยลืมกินยาได้
กิจกรรมการพยาบาล
-เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยได้ระบายความรู้สึกหรือความข้องใจโดยรับฟังอย่างเข้าใจเห็นอกเห็นใจเเละประเมินความเครียดของผู้ป่วยด้วยST-5
-จากทฤษฏีของลาซารัสเเละโฟลค์เเมน ได้เเบ่งการเผชิญออกเป็น2รูปเเบบ คือรูปแบบที่1 การเผชิญโดยมุ่งเน้นการเเก้ปัญหาโดยตรงและรูปเเบบที่2เป็นการแก้้ปัญหาเสนอวิธีการแก้ไขให้ผู้ป่วยคิดหาแนวทางในการเผชิญปัญหาที่เหมาะสม
เพื่อเป็นทางเลือกในการตัดสินใจ เช่น
-แนะนำให้ผู้ป่วยเรียนรู้วิธีการผ่อนคลายให้กับตัวเอง เช่น การฝึกทำสมาธิ การฟังเพลง การรดน้ำต้นไม้ เป็นต้น
-แนะนำให้ผู้ป่วยรับประทานลูกอมหรือกานพลูเพื่อลดการอยากบุหรี่
-แนะนำวิธีการจัดการกับอารมณ์โกรธ เช่น การนับ 1-10 ร่วมกับการฝึกการหายใจเข้า-ออกอย่างช้าๆ
-ชื่นชมเมื่อผู้ป่วยสามารถบอกแนวทางการเผชิญปัญหาที่เหมาะสมได้เพื่อเป็นการ
สนับสนุนให้กำลังใจ
-
1.acute dystonia กล้ามเนื้อบางส่วนของร่างกายบิดเกร็งอยู่ในท่าใดท่าหนึ่งร่วมกับมีอาการเจ็บปวด
2.acute akathisia อยู่ไม่นิ่งต้องเคลื่อนไหวตลอดเวลา
3.parkinsonism เคลื่อนไหวช้า กล้ามเนื้อแข็งเกร็ง สั่น และการทรงตัวไม่มั่นคง
4.tardive dyskinesia ผู้ป่วยจะมีการเคลื่อนไหวแบบบิดไปมา
หูแว่ว,มองเห็นภาพหลอน(เห็นผีในบ้าน)
การพยาบาลเพื่อปรับสมดุลของGABA โดยไม่ใช่ยา
- ปรับให้มีสุขอนามัยที่ดี ทำได้โดยการปรับสภาพเเวดล้อมในห้องนอนให้เหมาะสมต่อการนอนหลับ เช่น จัดห้องนอนให้เงียบ มีอุณหภูมิเหมาะสม เเละมีเเสงสว่างรบกวนน้อยที่สุด เเละการนำหลักเหนี่ยวนำให้เกิดอาการง่วงนอนตามธรรมชาติมาใช้ เช่น การออกกำลังกายอย่างพอเหมาะในช่วงเย็นเพื่อให้เหนื่อยเพลี่ย , เข้านอนเเละตื่นนอนในเวลาเดียวกันเป็นประจำทุกวัน
- การฝึกเทคนิดการผ่อนคลาย ซึ่งช่วยผ่อนคลายกล้ามเนื้อเพื่อทำให้นอนหลับได้ดียิ่งขึ้น
-