Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
นวัตกรรมที่เกี่ยวกับงานประกันคุณภาพการศึกษา - Coggle Diagram
นวัตกรรมที่เกี่ยวกับงานประกันคุณภาพการศึกษา
แนวทางการจัดทำรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report: SAR) ประจำปีการศึกษา 2563
สถานศึกษาสามารถกำหนดรูปแบบรายงานผลประเมินตนเองของสถานศึกษาได้ตามความเหมาะสมและตามบริบทของสถานศึกษา
ข้อมูล หลักฐาน ร่องรอยและเอกสารเชิงประจักษ์สนับสนุน
แผนงาน โครงการ แนวทางพัฒนาคุณภาพให้ดีขึ้นกว่าเดิม
มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษามีระดับคุณภาพ
โครงสร้างของรายงานผลการประเมินตนเองประกอบด้วย 2 ส่วนหลัก ๆ คือ
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร
เนื้อหาสาระของการประเมินตนเอง ที่ประกอบด้วย 2 ส่วนหลักๆ คือ
2.ผลการประเมินตนเอง
1.ข้อมูลพื้นฐานของสถานศึกษา
เนื้อหาที่นำเสนอในรายงานการประเมินตนเองของสถานของศึกษา
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร
เป็นการประเมินไม่ใช่แค่บรรยาย ระบุคุณภาพผลการประเมินที่ได้
สื่อให้เห็นอย่างชัดเจนถึงผลกระทบของสิ่งโรงเรียนที่ได้ลงมือทำเพื่อพัฒนาคุณภาพด้านต่าง ๆ
กระชับ รวบรัด จับประเด็นสำคัญ และมีที่มาของหลักฐานที่ชัดเจน
ผลการประเมินตนเอง
ข้อมูลพื้นฐานของสถานศึกษา ให้นำเสนอข้อมูลพื้นฐานของสถานศึกษาตามความเหมาะสม
การตอบคำถามข้อ 1 มาตรฐานการศึกษา จะประกอบไปด้วย 5 ระดับ คือ
ระดับปานกลาง
ระดับดี
ระดับกำลังพัฒนา
ระดับดีเลิศ
ระดับยอดเยี่ยม
การตอบคำถามข้อ 2 ข้อมูล การปฏิบัติงานตามสภาพจริงของสถานศึกษา โดยเลือกใช้วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลที่เหมาะสมและสะท้อนคุณภาพการดำเนินงานตามมาตรฐานของสถานศึกษาได้อย่างชัดเจน
ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ
3.ด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ด้านคุณภาพของผู้เรียน
การประเมินคุณภาพภายนอก แนวใหม่ รอบสี่
มาตรา 49 ตาม พรบ การศึกษาแห่งชาติ พศ 2542 กำหนดให้ สำนักงานมีฐานะเป็นองค์การมหาชนทำหน้าที่พัฒนาเกณฑ์ วิธีการประเมินคุณภาพภายนอกและทำการประเมินผลการจัดการศึกษาเพื่อให้มีการตรวจสอบคุณภาพของสถานศึกษา
อำนาจหน้าที่
พัฒนามาตรฐานและเกณฑ์สำหรับการประเมินคุณภาพภายนอก
ให้การรับรองผู้ประเมินภายนอก
พัฒนาระบบการประเมินคุณภาพภายนอก กำหนดกรอบแนวทาง และวิธีการประเมินคุณภาพภายนอกที่มีประสิทธิภาพ
กำกับดูแลและกำหนดมาตรฐานการประเมินคุณภาพภายนอกที่ดำเนินการโดยผู้ประเมินภายนอก
พัฒนาและฝึกอบรมผู้ประเมินภายนอก จัดทำหลักสูตรการฝึกอบรมและสนับสนุนให้องค์กรเอกชน
เสนอรายงานการประเมินคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาประจำปี
จุดเปลี่ยนการประเมินคุณภาพภายนอก รอบ 4
ลดจำนวนการประเมิน (1 IQA + 1 EQA)
EXPERT JUDGEMENT
การตัดสินของผู้เชี่ยวชาญ
เพิ่มเทคโนโลยี
ลดภาระเอกสาร
การประเมินเชิงคุณภาพ
เชื่อมโยง สอดคล้องประกันคุณภาพภายใน
HOLISTIC APPROACH
แนวทางองค์รวม
วัตถุประสงค์
มาตรา 7 ตาม พรฎ จัดตั้ง สมศ พศ 2543 กำหนดให้สำนักงานมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาเกณฑ์และวิธีการประเมินคุณภาพ ภายนอก และทำการประเมินผลการจัดการศึกษา
พันธกิจ
พัฒนาหลักเกณฑ์วิธีการประเมินคุณภาพภายนอก และทำการประเมินผลการจัดการศึกษา
การจัดการศึกษาในแต่ละระดับ ประกอบด้วย
ด้านการอาชีวศึกษา
การศึกษา
ขั้นพื้นฐาน
ระดับ
อุดมศึกษา
การศึกษาปฐมวัย