Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2 พื้นฐานชีววิทยาของพฤติกรรม (Biological Foundations of Behavior) -…
บทที่ 2 พื้นฐานชีววิทยาของพฤติกรรม (Biological Foundations of Behavior)
กลไกการเกิดพฤติกรรม
โครงสร้างพื้นฐานของสรีระและหน้าที่การทำงาน
เนื้อเยื่อ
คือ กลุ่มของเซลล์ที่มีโครงสร้างและมีหน้าที่ใกล้เคียงกัน กลายเป็นรูปร่างของเนื้อเยื่อ
อวัยวะ
คือ ส่วนประกอบของเนื้อเยื่อที่มีตั้งเเต่ 2 ชิ้นขึ้นไป
ระบบอวัยวะ
คือ กลุ่มของอวัยวะกลุ่มใดกลุ่ใหนึ่งที่ทำหน้าที่ในร่างกายอย่างใดอย่างหนึ่ง
ร่างกาย
คือ การคงสภาพการมีชีวิตอยู่โดยรวมของมนุษย์ซึ่งมีการประสานการทำงานของระบบอวัยวะต่าง ๆ อย่างซับซ้อนและมีการทำงานร่วมกัน
เคมี
โครงสร้างในทุกระบบถูกกำหนดจากจุดเริ่มต้นทางเคมี และมีหน้าที่ของโมเลกุลมีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชินกับโครงสร้าง
เซลล์
คือ หน่อยสิ่งมีชีวิตพื้นฐานของมนุษย์ในทุกเผ่าพันธุ์
ออการ์เเนล
คือ โครงสร้างเล็กที่อยู่ภายในเซลล์ที่มีหน้าที่เฉพาะอย่าง
กระบวนการเกิดพฤติกรรม
สิ่งเล้าภายนอกภายใน
เครื่องรับสัมผัส
กระเเสประสท
ระบบประสาท
อวัยวะตอบสนอง ได้เเก่ระบบกล้ามเนื้อ
การตอบสนอง
พฤติกรรมภายในและพฤติกรรมภายนอก
ระบบของร่างกายกับการเเสดงออกของพฤติกรรม
ระบบกล้ามเนื้อ
กล้ามเนื้อเรียบ
สามารถพบได้ในบริเวณ ม่านตา ผนังของหลอดเลือด ท้อง กระเพาะปัสสาวะ อวัยวะภายใน
มีลักษณะทำงานเช่นเดียวกับกล้ามเนื้อลาย คือ เป็นปฏิกิริยาการทำงานของแอคตินเเละไมโอซิน
เเต่จะมีโครงสร้างเเละหน้าที่การทำงานที่เเตกต่างจากกล้ามเนื้อลายประเภทอื่น ๆ
กล้ามเนื้อลาย
คือโครงสร้างกล้ามเนื้อลายประกอบขึ้นจากส่วนต่างๆ
สิ่งที่ปกคลุมเนื้อเเยื่อเกี่ยวพัน คือ พังผืด
เส้นใยกล้ามเนื้อ คือ เป็นเซลล์เดี่ยวที่หดตัวต่อการตอบสนองต่อสิ่งเร้า
หน่อยของมอเตอร์ จะเชื่อมต่อกับเส้นใยกล้ามเนื้อต่าง ๆ
จุดเชื่อมต่อประสาทกล้ามเนื้อ เรียกว่า เซลล์ประสาทมอเตอร์
กล้ามเนื้อหัวใจ
จะพบได้ในบริเวณส่วนของหัวใจเท่านั้น
ทำงานภายใต้ระบบประสาทอัตโนมัติ
กล้ามเนื้อหัวใจจะมีการหดตัวเป็นจังหวะด้ายตัวเอง
ต่อมไร้ท่อ
มีหน้าที่ในการประสานการทำงานในทุกส่วนของร่างกาย ถ้าขาดการทำงานจะมีผลต่อการเผ่าผลาญร่างกาย
ไฮโปทารามัสและต่อมใต้สมอง
ต่อมเพศ
ผู้ชายจะอยู่ในตำเเหน่ง อัณฑะ ผลิตฮอร์โมนแอนโดรเจน ส่วนเพศหญิงจะอยู่ในรังไข่ ผลิตฮอร์โมนเอสโตรเจนเเละโปรเจสเตอโรน
ต่อมหมวกไต
จะอยู่เหนือไต. ประกอบด้วย 2 ชั้น คือ ต่อมหมวกไตส่วนนอก จะผลิตฮอร์โมน 3 ชนิด คือ ฮอร์โมนคอร์ติโซน ฮอร์โมนโดสเตอโรน และฮอร์โมนเพศ ส่วนต่อมหมวกไตส่วนนอก ผลิตฮอร์โมนนอร์เอฟิเนฟฟรินเเละเอฟิฟฟริน ส่งผลให้อวัยวะหัวใจและกล้ามเนื้อต่าง ๆ ทำหย้าที่กระตุ้นปฎิกิริยาของบุคคลในสภาวะคับขันทำให่น้ำตาลในเลือดเพิ่มสูงขึ้น
ต่อมในตับอ่อน
เป็นอวัยวะที่ยาว ประกอบด้วยเนื้อเยื่อ 2 ชนิด คือ ต่อมมีท่อ และต่อมไร้ท่อ
ต่อมไทมัส
จะอยู่เหนือ ทรวงอก ผลิตฮอร์โมนไทโมซิน
อวัยวะเป้าหมาย
คือ ต่อมน้ำเหลือง ทำหน้าที่ กระตุ้นความพร้อมของลิมโฟไซท์เเละกระตุ้นเซลล์คุ้มกันโดยทั่วไปให้เเก่ร่างกาย
ต่อมไทรอย
ผลิตฮอร์โมน 2 ชนิด คือ ฮอร์โมนไทร็อกชิน เเละ ฮอร์โมนเเคลซิโตนิน
อวัยวะเป้าหมาย
คือ เนื้อเยื่อทุกชนิด ทำหน้าที่ช่วนทำให้อัตราการเผาผลาญของร่างกายสูงขึ้น ควบคุมการเจริญเติบโตเเละพัฒนาการของบุคคล
ฮอร์โมนไทร็อกชิน
ผลิตน้อย เกินไป ในเด็กจะก่อให้เกิดภาวะที่เรียกว่า เครตินิสซึม เด็กจะเตี้ย เเคระ สติปัญญาอ่อน ถ้าเกิดในผู้ใหญ่จะเรียกว่า มายซิเดร็มม่า จะมีลักษณะเฉื่อยชา น้ำหนักเพิ่ม ผมร่วง
ฮอร์โมนเเคลซิโตนิน
อวัยวะเป้าหมายคือ กระดูก ไต ลำไส้ ทำหน้าที่ ทำให้ระดับเเคลเซียมในเลือดลดลง
ต่อมไพเนียล
อวัยวะเป้าหมาย
คือ จังหวะการเต้นของหัวใจ ทำหน้าที่ กระตุ้นการทำงานจังหวะการเต้นของหัวใจ
ในมนุษย์เเละสัตว์จะมีวงจรในการนอนหลับที่ เรียกว่า นาฬิกาชีวิต
ฮอร์โมนชนิดนี้มีความเกี่ยวข้องกับวงจรการนอนหลับ
ต่อมใต้สมองส่วนหน้า
ฮอร์โมนไทรอยด์
อวัยวะเป้าหมายคือ ไทรอยด์ ทำหน้าที่ กระตุ้นการทำงานของต่อมไทรอยด์
ฮอร์โมนหมวกไต
อวัยวะเป้าหมาย คือ ต่อมหมวกไตส่วนนอก ทำหน้าที่ กระตุ้นการทำงานของต่อมหมวกไตส่วนนอก
ฮอร์โมนต่อมเพศ
อวัยวะเป้าหมาย คือ ต่อมเพศ ทำหน้าที่ กระตุ้นการทำงานของต่อมเพศ
ฮอร์โมนโปรแลคติน
อวัยวะเป้าหมายคือ ต่อมน้ำนม ทำหน้าที่กระตุ้นการผลิตน้ำนม
ฮอร์โมนการเจริญเติบโต
อวัยวะเป้าหมายคือ เนื้อเยื่ออ่อน ทำหน้าที่ กระตุ้นการเเบ่งเซลล์ สังเคราะห์โปรตีนและการเจริญเติบโตของกระดูก
ฮอร์โมนเม็ดสี
อวัยวะเป้าหมายคือ เม็ดสีในผิดหนัง ทำหน้าที่กระตุ้นการทำงานของเม็ดสีในผิวหนัง
ทำหน้าที่
ในการควบคุมสิ่งเเวดล้อมในร่างกาย เช่น อัตราการเต้นของหัวใจ เเละยังทำหน้าที่ในการปล่อยเเละยับยั้งการทำงานของฮอร์โมนใต้สมองส่วนหน้า
ระบบประสาท
ระบบประสาทส่วนปลาย
ระบบประสาทโซมาติค ทำหน้าที่ ทำให้กล้ามเนื้อเกิดการเคลื่อนไหว และรับความรู้สึกสัมผัส อุณหภูมิ และความเจ็บปวด
ระบบประสาทอัตโนมัติ ทำหน้าที่รักษาความสมดุลของร่างกาย เเละมีการทำงานอย่างอิสระ ควบคุมอัตรการเต้นของหัวใจ การหายใจ การย่อยอาหาร การทำงานของต่อมต่าง ๆ กล้ามเนื้อเรียบ อวัยวะภายในของร่างกาย เเละทางด้านอารมณ์ เป็นต้น
ระบบปรสาทส่วนกลาง
ไขสันหลัง
จะอยู่ภายในกระดูกไขสันหลัง มีรูปร่างคล้ายผีเสื้อ มีสีเทา ประกอบไปด้วยเซลล์ประสาทเชื่อมโยง เดนไดรรต์ของเซลล์ประสาทสั่งการ เเละเส้นใยของเซลล์ปรัสาทรับความรู้สึกเเละเกลียเซลล์ ส่วนบริเวณรอบนอกมีสีขาว ซึ่งเส้นทางผ่านที่มีความยาวตลอดสันหลัง มีการชะลอข้อมูลจากสมอง ไปยังไขสันหลังเเละส่งผ่านขูอมูลไปยังสมอง
สมอง
สมองส่วนหลัง
สมองส่วนหน้า
มีองค์ประกอบ 5 ส่วน
ไดเอนเซฟาลอน คือ ส่วนของสมองทีท่ทำหน้าที่เกี่ยวกับโครงสร้างของการมีชีวิต
ส่วนที่ห้าคือ สมองส่วนอินซูลา จะเป็นส่วนลึกของซีรีบรัมที่ไม่สามารถมองเห็นได้จากพื้นผิว ทำหน้าที่ในการประสานกิจกรรมการทำงานของซีรีบรัมต่าง ๆ
ซีรีบรัม เป็นส่วนที่ใหญ่และมองเห็นได้ชัดเจนที่สุดของสมอง
บาชาร์แกลงเลีย ตั้งอยู่เหนือทาลามัสและอยู่ใต้เปลือกสมองทำงานร่วมกับซีรีบรัมเเละเปลือกสมอง ในการควบคุมและประสานการทำงานด้านการเคลื่อนไหลโดยความสมัครใจ เเละยังสนับสนุนให้บุคคลสามารถประจำวันได้ปกติ
ระบบลิมบิก เป็นการเชื่อมโยงของโครงสร้าวที่อยู่ภายใต้เปลือกสมอง มีความสำตัญต่อทางด้านความทรงจำและอารมณ์ ประกอบด้วนสมอง 2 ส่วน คือ อะมิกดาลา เเละ ฮิปโปเเคมปัสปฏิบัติกิจวัตร
สองสมองส่วนหน้า
เป็นส่วนหนึ่งของก้านสมองที่อยู่ระหว่างไดเอนเซฟาลอนและพอนส์ ตั้งอยู่ระหว่างสมองส่นฃวนหลังเเละสมองส่วนหน้า สมองส่วนหน้า ประกอบด้วย สมองส่วนเรติคิวราฟอร์มเมชั่น คือส่วนที่อยู่ตามเเนวยาวตลอกก้านสมอง
โครงสร้างของเซลล์ประสาท
เซลล์ประสาท คือ หน่วยย่อยพื้นฐานของระบบประสาทมีประมาณพันล้านเซลล์ มีณุปร่างแตกต่างกัน มีหน้าที่ประ
1.ตัวเซลล์ (call body หรือ soma)บรรจุนิวเคลียสอยู่กลางเซลล์ประสาท ซึ่งมีรหัสทางพันธุศาสตร์และสังเคราะห์โปรตีนมีกลไกเพื่อการดำรงชีวิตของเซลล์
2.เดนไดรต์ (dendrites) เป็นส่วนที่ยื่นออกจากตัวเซลล์ ทำหน้าที่รับกระแสประสาทเข้าสู้ตัวเซลล์
3.แอกซอน(axon) มีลักษณะเป็นเส้นใยเดี่ยวที่ยื่นออกมาจากตัวเซลล์ มีสัญญาณกระแสไฟฟ้าจากตัวเซลล์ไปยังแอกซอนแขนงของแอกซอน ทำหน้าที่ปล่อยประสาทกระแสประสาทออกจากแอกซอน
4.ส่วนปลายของแอกซอน(terminal buttons) ตำแหน่งส่วนปลายของแอกซอนซึ่งมีหน้าที่การทำงานเฉพาะอย่าง เมื่อมีข้อมูลกระแสประสาทมาถึงส่วนปลายจะมีกลไกทางเคมีเกิดขึ้นที่เรียกว่า สารสื่อประสาท เพื่อทำหน้าที่กระตุ้นและยับยั้งการรับข้อมูลจากเซลล์และช่วยกำหนดปฏิกิริยาของพลังงาน
5.เกลียเซลล์ หรือ นิวโรเกลีย (glaial cells หรือ neuroglia) ทำหน้าที่ในการสนับสนุนการทำงานของเซลล์ประสาท
6.ปลอกหุ้ม(myelin sheath) ห่อหุ้มแอกซอนและทำหน้าที่เหนี่ยวนำกระแสประสาทด้วยความรวดเร็ว
7.ไซแนปส์(synapse) ทำหน้าที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหวโดยความสมัครใจ การนอนหลับ อารมณ์ ความสนใจ และการเรียนรู้ หากโดพามีนอยู่ในระดับตำจะก่อให้เกิดโรคพาร์คินสัน เกี่ยวข้องกับการนอนหลับ การตื่น อารมณ์ ปความสนใจ การเรียนรู้ ถ้าซีโรโตนินอยู่ในระดับต่ำจะสัมพันธ์กับการเกิดโรคซึมเศร้า
ประเภทของเซลล์ประสาท
1.เซลล์ประสาทรับความรู้สึก มีบทบาทหน้าที่ คือ รับข้อมูลจากอวัยวะสัมผัสส่งผ่านเข้าไปในระบบประสามส่วนกลางซึ่งเป็นเซลล์ประสาทที่มีเดนไดร์ที่ยาวเเละแอกซอนที่สั้น
2.เซลล์ประสาทสั่งการ ทำหน้าที่นำข้อมูลข่าวสารออกจากระบบประสาทส่วนกลางไปยังเซลล์กล้ามเนื้อ ต่อมต่าง ๆ จะมีเเขนงของเดนไดรต์ที่สั้นและแอกซอนยาว
3.เซลล์ประสาทเชื่อมโยง ทำหน้าที่ประสานการทำงานและเชื่อมโยงสัญญาณต่าง ๆ ของเซลล์ประสาทรับความรู้สึกประสาทสั่งการให้อยู่ในรูปของปฏิกิริยาสะท้อนอัตโนมัติ
ตามปกติแล้วบุคคลจะอยู่ท่ามกลางสภาพเเวดล้อมต่าง ๆ และมีการโต้ตอบต่อสิ่งเเวดล้อมภายนอกหรือสิ่งเร้าตลอด โดยมีระบบหลักของร่างกายที่มีการทำงานของระบบกลไกทางชีลวิทยา โดยเฉพาะ ระบบกล้ามเนื้อ ระบบต่อมไร้ท่อ และระบบประสาท โดยการทำงาน ทั้ง 3 ระบบ ส่งผลให้บุคคลสามารถตอบสนองต่อสถานการณ์นั้น ๆ จนทำให้เกิดพฤติกรรมออกมาในลักษณะต่าง ๆ