Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 4 การออกแบบการวิจัยทางการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร - Coggle Diagram
หน่วยที่ 4 การออกแบบการวิจัยทางการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
แนวคิดเกี่ยวกับการออกแบบการวิจัยทางการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ประเภทของแบบการวิจัย
แบบการวิจัยเชิงคุณภาพ
แบบการวิจัยแบบผสมผสาน
แบบการวิจัยเชิงปริมาณ
แบบการทดลอง
แบบวิจัยทดลองเต็มรูปแบบ
แบบวิจัยกึ่งทดลอง
แบบวิจัยเชิงทดลองที่ศึกษาเฉพาะกรณี
การเลือกแบบการวิจัย
แบบวิจัยที่ดี
แผนโครงงานที่ระบุแหล่งที่มา และชนิดข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับปัญหาการวิจัยอย่างชัดเจน
เป็ยยุทธวิธีที่ระบุถึงวิธีการที่จะใช้รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล
ระบุด้วยเวลางบประมาณ
ความหมาย ความสำคัญแบะลักษณะของแบบการวิจัย
ลักษณะของแบบการวิจัย
กิจกรรมหนึ่งในขั้นตอนการวิจัยที่ผู้วิจัยต้องคิดค้นวิธีในการหาคำตอบที่ถูกต้องของปัญหาทางการวิจัย
ความหมาย
การกำหนดวิธีดำเนินการวิจัย เพื่อให้ได้มาซึ่งคำตอบที่ถูกต้องของปัญหาการวิจัย
ความสำคัญ
เป็นเรื่องเกี่ยวกับจุดมุ่งหมาย วัตถุประสงค์ แรงจูงใจและแผนที่สร้างขึ้นเพื่อให้ปฏิบัติภายใต้ข้อจำกัดต่างๆ
การออกแบบการวิจัยเชิงปริมาณทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
แบบการวิจัยเชิงสัมพันธ์
ความสำคัญ
เมื่อต้องการหาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรสองตัวหรือมากกว่าเพื่อทดสอบว่าตัวแปรทั้งสองมีอิทธิพลต่อกันหรือไม่
ชนิดของแบบการวิจัย
แบบการวิจัยเชิงอธิบาย
แบบการวิจัยเชิงทำนาย
ความหมาย
เป็นแบบการวิจัยที่ผู้วิจัยใช้สถิติทดสอบความสัมพันธ์ เพื่อวัดความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรสองตัวหรือหลายตัว
แบบการวิจัยเชิงทดลอง
ลักษณะสำคัญ
การจัดกระทำตัวแปรสาเหตุที่ผู้วิจัยสนใจ
การสุ่มเข้ากลุ่มแบบสมบูรณ์
การควบคุมตัวแปรภายนอก
การสังเกตหรือการวัดผลที่เกิดขึ้น
การเปรียบเทียบระหว่างกลุ่ม
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความถูกต้องของการวิจัย
ประเภท
แบบเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างกลุ่ม
Within-Group or Individual Designs
ความสำคัญ
การวิจัยที่ผู้วิจัยต้องการทดสอบแนวความคิด หรือปฏิบัติ หรือวิธีการว่ามีผลกระทบต่อผลลัพธ์หรือไม่ผู้วิจัยเลือกสิ่งที่ต้องการทดลอง
ขั้นตอน
พิจารณาความเหมาะสมของการวิจัย
ตั้งสมมติฐานเพื่อทดสอบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ
เลือกหน่วยทดลองและระบุผู้ที่จะเข้าการทดลอง
เลือก treatment ในการทดลอง
เลือกแบบการวิจัย
ดำเนินการทดลอง
วิเคราะห์ข้อมูล
เขียนรายงานการวิจัย
ความหมาย
นําไปใช้ประโยชน์เมื่อนักวิจัยต้องการศึกษาสาเหตุและ
ผลระหว่างตัวแปรอิสระและตัวแปรตามที่ผู้วิจัยสนใจ
แบบการวิจัยเชิงสำรวจ
ความสำคัญ
เหมาะสําหรับการใช้อธิบายแนวโน้มของสิ่งสนใจที่จะศึกษา
ลักษณเด่น
มีการออกแบบเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล
มีการสุ่มตัวอย่างจากประชากรเป้าหมายที่ใช้ศึกษา
เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม
ความหมาย
กระบวนการวิจัยเชิงปริมาณที่ผู้วิจัยใช้สําหรับสํารวจข้อมูลจากตัวอย่างหรือประชากรทั้งหมด เพื่อที่จะอธิบายทัศนคติ ความคิดเห็น พฤติกรรม หรือลักษณะประชากร
ประเภท
แบบการวิจัยเชิงสำรวจแบบภาคตัดขวาง
แบบการวิจัยเชิงสำรวจแบบระยะยาวต่อเนื่อง
การออกแบบการวิจัยเชิงคุณภาพทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
แบบการวิจัยเชิงชาติพันธุ์วรรณนา
ความหมาย
เป็นกระบวนการวิจัยเชิงคุณภาพ สําหรับการอธิบาย วิเคราะห์และตีความลักษณะร่วมทางวัฒนธรรมของกลุ่มในแบบแผนของพฤติกรรม ความเชื่อ และภาษา ซึ่งพัฒนาร่วมกันมาเป็นระยะเวลาหนึ่ง
ประเภท
แบบ Critical Ethnographines
แบบ Case studies
แบบ Realist Ethnographines
แบบการวิจัยจากข้อมูลเล่าเรื่อง
ความหมายและความสำคัญ
ผู้วิจัยมุ่งเน้นศึกษาบุคคลใดบุคคลหนึ่ง รวบรวมข้อมูลจากเรื่องราวต่างๆ รายงานหรือบันทึกประสบการณ์ของแต่ละคน และอภิปายหาความหมายของประสบการณ์บุคคลนั้น
ประเภท
ระยะเวลาในชีวิตที่ถูกบันทึก
ใครเป็นคนเขียน
ใช้ทฤษฎีเป็นกรอบในการอธิบายหรือไม่
ใช้หลายแบบการวิจัยรวมกันได้ไหม
ใครเป็นคนให้เรื่องราว
แบบการวิจัยการสร้างทฤษฎีจากข้อมูล
ความหมาย
เป็นระบบหรือกระบวนการในการสร้างทฤษฏีเพื่ออธิบายแนวคิดอย่างกว้างๆ
ประเภท
The Systematic Design
The Emerging Design
The Constructivist Design
การออกแบบการวิจัยแบบผสานวิธีทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
แบบการวิจัยผสมผสาน
ความสำคัญ
เป็นกระบวนการสําหรับการเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลและผสมผสานข้อมูล โดยใช้วิธีการเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพในคราวเดียวกันเพื่อที่จะค้นหาคําตอบการวิจัย
ประเภท
The Convergent Parallel Design
The Explanatory Sequential Design
The Exploratory Sequential Design
The Embedded Design
ความหมาย
นักวิจัยจะใช้วิธีการผสมผสานต่อเมื่อสามารถเก็บรวบรวมข้อมูลได้ทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพแล้วใช้ข้อมูลทั้ง สองประเภทอธิบายเพื่อให้ได้คําตอบที่ชัดเจนที่สุด
แบบการวิจัยเชิงปฏิบัติ
ความหมายและวัตถุประสงค์การนำไปใช้
เป็นระบบกระบวนการวิจัยที่นักวิจัยทางส่งเสริมการเกษตรใช้สำหรับปรับปรุงวิธีการส่งเสริมิ หรือถ่ายทอดความรู้โดยการศึกษาประเด็นปัญหาในการปฏิบัติงานแล้วสะท้อนถึงปัญหานั้น
ประเภท
Practical Action Research
R2R