Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การจัดการสารเคมีและ ของเสียอันตรายในอุตสาหกรรม - Coggle Diagram
การจัดการสารเคมีและ ของเสียอันตรายในอุตสาหกรรม
สารเคมีและวัตถุอันตราย
วัตถุอันตราย” (hazardous substance) มีความหมายโดยทั่วไป หมายถึง สารหรือ วัตถุที่มีคุณสมบัติทางเคมีหรือทางกายภาพโดยตัวของมันเอง หรือเมื่อสัมผัสกับสารนั้นแล้วทาให้เกิด อันตรายต่อสุขภาพอนามัยของมนุษย์ ต่อทรัพย์สินและต่อสิ่งแวดล้อม (พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535)
สัญลักษณ์ ฉลาก และป้ายของสารเคมีและวัตถุอันตราย
สัญลักษณ์และฉลากตามระบบจีเอชเอส (GHS)
สัญลักษณ์แสดงความเป็นอันตรายของวัตถุตามระบบ NFPA
สีน้ำเงิน อันตรายต่อสุขภาพ
สีเหลือง ความรุนแรงจากปฏิกิริยาเคมี
สีแดง ระดับความไวของไฟ
สีขาว คุณสมบัติพิเศษ
สัญลักษณ์และฉลากตามระบบขนส่งของยูเอ็น (UN Transportation)
วัตถุออกซิไดซ์และวัตถุเปอร์ออกไซด์อินทรีย์ (Oxidizing substance and Organic peroxide)
วัตถุมีพิษและวัตถุติดเชื้อ (Poisonous substance and infectious substance)
ของแข็งไวไฟ (Flammable solid)
ของเหลวไวไฟ (Flammmable liquid)
วัตถุกัมมันตรังสี (Radioactive substance)
ก๊าซ (Gases)
สารกัดกร่อน (Corrosive Substances)
วัตถุระเบิด (Explosives)
วัตถุอันตรายเบ็ดเตล็ด (Miscellaneous substance)
เอกสารข้อมูลความปลอดภัยด้านสารเคมี (SDS; Safety Data Sheet)
ของเสียอันตรายและกากอุตสาหกรรม
เกิดปฏิกิริยายาได้ง่าย
มี สารพิษปะปนหรือมีตัวทาละลาย
กัดกร่อน
กากตะกอนที่เกิดจากการผลิต
วัสดุที่ไม่ได้ใช้แล้วท่ีมีคุณสมบัติเป็นสารไวไฟ
การจัดเก็บสารเคมีและของเสียอันตราย
การกักกันสารเคมีรั่วไหล
การกักกันสารเคมีท่ีรั่วไหลฟุ้งกระจายในอากาศ
การกักกันสารเคมีหกรดบนพื้นดิน
การเก็บกักสารเคมีรั่วไหล
การควบคุมการรั่วของถังขนาดเล็ก
การควบคุมการรั่วของเส้นท่อ
การควบคุมการรั่วของแทงค์บรรจุขนาดใหญ่
การจัดเก็บสารเคมี
วิธีการจัดเก็บวัตถุอันตราย
การจัดเก็บแบบแยกบริเวณ (Separate Storage)
การจัดเก็บแบบแยกห่าง (Segregate Storage)
หลักการท่ัวไปของการเก็บสารเคมี
การจัดลาดับความสาคัญของสารเคมีและวัตถุอันตราย
วัตถุระเบิด
ก๊าซอัด ก๊าซเหลว
สารที่มีความเสี่ยงต่อการลุกไหม้ได้เอง
วัสดุกัมมันตรังส
สารติดเชื้อ
มาตรการการป้องกัน
มาตรการเก็บรักษาวัตถุอันตรายในอาคาร
สัญญาณเตือนภัย
เครื่องหมายความปลอดภัย
ประตูและทางออกฉุกเฉิน
สุขลักษณะสถานที่เก็บรักษาวัตถุอันตราย
การสื่อสารความเป็นอันตรายของสารเคมีและวัตถุอันตราย
การขนส่ง
สถานที่ทางาน และสถานท่ีจัดเก็บ
หลักการจัดเก็บกากอุตสาหกรรมและข้อกาหนดทางกฎหมาย
ข้อกาหนดทางกฎหมายเรื่องสถานท่ีจัดเก็บและวิธีการจัดเก็บกากอุตสาหกรรม
การจัดการสถานที่จัดเก็บกากอุตสาหกรรม
ข้อกาหนดทางกฎหมายเรื่องระยะเวลาเก็บกักกากอุตสาหกรรม
การจัดการและวางแผนฉุกเฉินสารเคมี
การกาหนดเขตพื้นท่ี
จุดที่ 2 พื้นที่ชาระล้าง (Warm Zone)
จุดที่ 1 พื้นท่ีอันตราย (Hot Zone)
จุดที่ 3 พื้นที่ปลอดภัย (Cold Zone)
การประเมินสถานการณ์และการเข้าระงับเหตุ
การเข้าดาเนินการระงับภัยด้วยวิธีการท่ีเหมาะสม
การป้องกันอันตราย ด้วยเครื่องป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
การประเมินสถานการณ์ (Assess the Situation)
หลักการจัดการเมื่อเกิดการหกร่ัวไหลและตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน
การกาจัดของเสีย
การจัดการเมื่อเกิดการหกรั่วไหลมีดังนี้