Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Autism Spectrum Disorder with Severe intellectual disabilities - Coggle…
Autism Spectrum Disorder with Severe intellectual disabilities
1.ข้อมูลทั่วไป
ชื่อผู้ป่วย น้องพี เพศ ชาย
อายุ 14 ปี 3 เดือน 20 วัน
น้ำหนัก 38 กิโลกรัม น้ำหนักเหมาะสม (น้ำหนักที่เหมาะสม 35.8-59.6 kg.)
ส่วนสูง 150 เซนติเมตร ส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์ (ส่วนสูงที่เหมาะสม 154.5-174.1 cm.)
ลักษณะทั่วไปของผู้ป่วย
ผู้ป่วยเด็กชายไทย รูปร่างผอม ตัวเล็ก รู้ตัวรู้เรื่อง เดินมาเองกับป้า เดินปกติไม่เขย่งเท้า นิ้วมือ ฝ่ามือ ปกติ เมื่อมีคนแปลกหน้าเข้าใกล้ มีพฤติกรรมจะคว้าคนที่อยู่ใกล้และหยิก ไม่มีรอยช้ำตามร่างกาย สบตาบ้างครั้ง นั่งอยู่นิ่งทำกิจกรรมได้ ไม่มีลุกจากที่นั่ง ไม่มีพฤติกรรมกระตุ้นตนเอง ไม่สามารถสื่อสารบอกความต้องการได้
ประวัติการเจ็บป่วยในปัจจุบัน
กินยา Risperidone ตอนเช้าวันเว้นวัน เด็กเอาหัวจุ่มน้ำ ป้าตี หลังจากนั้นจำว่าป้าจะตีในห้องน้ำ หยิกป้า เวลาเข้าห้องน้ำ ไม่เป็นกับคนอื่น ปีนป่าย โยนรองเท้าลงสระน้ำ กระโดดตาม ฟังรู้เรื่องบ้าง masturbate กับหมอนข้างแอบทำในห้องนอนไม่มีที่ไม่เหมาะสม บางครั้งน้ำตาไหลไม่มีสาเหตุ ต้องบอกให้ไปอุจจาระถึงไป
ประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัว
ป้าผู้ป่วยป่วยจิตเภทตาป่วยสมองเสื่อม ยายป่วยพาร์กินสัน
11 แบบแผนสุขภาพของกอร์ดอน
แบบแผนที่ 1 การรับรู้และการดูแลสุขภาพ
ประเมินไม่ได้ ผู้ป่วยไม่สามารถบอก พูดสื่อสารได้
แบบแผนที่ 2 โภชนาการและการเผาผลาญสารอาหาร
เด็กรับประทานอาหารหลัก 3 มื้อ รับประทานได้หลากหลาย แต่หากเป็นอาหารที่เป็นเส้นจะไม่เคี้ยว จะกลืนลงไปเลย ต้องตัดเป็นเส้นๆให้เด็ก รับประทานผลไม้ได้ ส้ม มะละกอ
แบบแผนที่ 6 สติปัญญาและการรับรู้
ผู้ป่วยไม่สามารถพูดสื่อสารบอกความต้องการได้ เคยได้รับการตรวจการได้ยินและการมองเห็นปกติ
เด็กชอบสัมผัสน้ำ เล่นน้ำ ไม่สามารถประเมินด้านความสามารถในการจำ การแก้ปัญหา ตลอดจนการตัดสินใจได้เด็กไม่สามารถพูดได้
แบบแผนที่ 10 การปรับตัว และการเผชิญกับความเครียด
เด็กไม่สามารถปรับตัวต่อความเครียดได้เหมาะสมเมื่อไม่พอใจจะหยิกคนที่อยู่ใกล้ตัว บางครั้งเด็กร้องไห้ น้ำตาไหลโดยไม่มีสาเหตุ
พัฒนาการ (ในแต่ละวัย)
พัฒนาการด้านภาษา
ไม่พูดสื่อสารความต้องการ
การสื่อภาษา
ส่งเสียงอ้อแอ้ เมื่ออายุ 1 ปี ล่าช้าปกติประมาณ 2-3 เดือน
พัฒนาการด้านสังคม
การมองสบตา ไม่ปกติ ไม่ค่อยมอหน้า/สบตา ควรมองหน้าสบตาได้ตั้งแต่อายุ 2 เดือน
การเล่น/สัมพันธภาพกับผู้อื่น ไม่ปกติ ไม่เล่นกับเพื่อนควรเล่นกับเด็กอื่นได้โดยมีปฏิกิริยาโต้ตอบกันเป็นครั้งคราว อายุ 24 เดือน
ลักษณะที่พักอาศัยและสิ่งแวดล้อม
ลักษณะครอบครัวเดี่ยว ลักษณะที่อยู่อาศัยบ้านตนเอง สิ่งแวดล้อมไม่แออัด อาศัยอยู่กับป้า เป็นผู้ดูหลัก
การตรวจร่างกาย
ลักษณะทั่วไป
ผู้ป่วยเด็กชายไทยอายุ 14 ปี 3 เดือน รูปร่างสมส่วน มองสบตาเป็นบางครั้ง หันหาเสียง เรียกบางครั้ง มีท่าทาง อยู่นิ่งได้ รอคอยได้ ไม่สามารถพูดสื่อสารบอกความ ต้องการได้
การตรวจสภาพจิต
ลักษณะทั่วไป (General appearance)
ผิดปกติเนื่องจากผู้ป่วยสามารถสบตาได้เป็น ระยะเวลาสั้นๆ บางครั้งไม่มีสมาธิ คว้ามือไปจับเสื้อคนที่อยู่ใกล้ๆบ่อยครั้ง ไม่สามารถควบคุมตนเองได้ ไม่สามารถพูดสื่อสารบอกความต้องการได้
ความตั้งใจและสมาธิ (Attention and concentration)
มีวอกแวกโดยขว้ามือไปจับเสื้อคนที่อยู่ใกล้ๆ
10.การตรวจประเมินอื่น ๆ
Stanford Binet Intelligence Scale Form L-M
ค่าไอคิว < 24 (ค่าไอคิวอยู่ที่ 20 - 23) สติปัญญาอยู่ในเกณฑ์บกพร่องรุนแรง
(Thai-ATEC)
ด้านการพูด ได้ 16 คะแนน แปลว่ามีอาการมากด้านการเปล่งเสียงการใช้ภาษา
ด้านความสามารถสังคม ได้ 24 คะแนน แปลว่ามีอาการมาก
ด้านประสาทรับความรู้สึกและการรับรู้ ได้ 20 คะแนน แปลว่ามีอาการมาก
ด้านสุขภาพ ร่างกาย และพฤติกรรม 12 คะแนน แปลว่ามีอาการน้อย
แปลผลรวมทุกด้าน = 72 คะแนน แปลว่าอาการมาก
แบบประเมินความเครียด (ST- 5)
ในผู้ดูแลได้ 4 คะแนน (คะแนน 0 – 4 เครียดน้อย)
แบบประเมินกิจวัตรประจำวันพื้นฐาน (Activities of Daily Living-BADL)
การศึกษาจากตำราในโรคที่เลือกสรรเปรียบเทียบกับกรณีศึกษา
ลักษณะอาการ
ความบกพร่องของปฏิสัมพันธ์ทางสังคม
6 ปี 9 เดือน
การแต่งตัว ขับถ่ายอุจจาระยังต้องช่วย ไม่มองหน้า ไม่สบตา ไม่เล่นกับผู้อื่น
ความบกพร่องทางภาษาและการสื่อสาร
สื่อสารไม่ได้ มีภาษาของตัวเอง พูดคำสั้นๆได้น้อย แสดงออกด้วยท่าทางมากกว่าคำพูด
พฤติกรรม
มีปัญหาเรื่องซน ไม่ฟัง ฟังคำสั่งเฉพาะคนที่คุ้นเคย เมื่อถูกขัดใจจะกัดตัวเอง ตีแม่ กระทืบเท้า ลงไปนอน กรี๊ด
เด็กกลุ่มนี้มักแสดงออกทางอารมณ์อย่างไม่เหมาะสม
บางครั้งอยู่ที่บ้านร้องไห้ไม่ทราบสาเหตุ หงุดหงิด ทำลายขว้างของ
รับรู้ประสาทสัมผัสไวกว่าปกติถ้ารับประทานข้าวจะรับประทานแต่ข้าวสวยถ้าเปลี่ยนเป็นข้าวกล้องจะหงุดหงิด อารมณ์ไม่ดี
มีพฤติกรรมไม่สามารถควบคุมการใช้มือได้ เมื่อมีคนมาอยู่ใกล้ๆจะคว้ามือไปดึงจับเสื้อ หรือสายป้ายชื่อของผู้บำบัด
ร้อยละ 70 ของเด็ก autistic จะมีภาวะสติปัญญาบกพร่องร่วมด้วย
ค่าไอคิว < 24 (ค่าไอคิวอยู่ที่ 20 - 23) สติปัญญาอยู่ในเกณฑ์บกพร่องรุนแรง
(DSM-5-TR)
A: มีอาการปรากฏให้เห็นหรือได้ข้อมูลจากประวัติว่ามีความบกพร่องใน ด้านการสื่อสารและปฏิสัมพันธ์ในสังคมในบริบทต่างๆ โดยมีอาการ ดังต่อไปนี้
มีความบกพร่องในปฏิสัมพันธ์ทางสังคม
เมื่อเด็กอายุ 3 ปี ไม่พูด เด็กไม่พูด ไม่ฟัง ไม่มีปฏิสัมพันธ์
มีความบกพร่องในพฤติกรรมการสื่อสารที่ไม่ได้ใช้คำพูดในปฏิสัมพันธ์ ทางสังคม
อายุ 6 ปี 9 เดือน สื่อสารไม่ได้ การแต่งตัว ขับถ่ายอุจจาระยังต้องช่วย ไม่มองหน้า ไม่สบตา ไม่เล่นกับผู้อื่นมี
มีความบกพร่องในการสร้าง รักษา และเข้าใจในความสัมพันธ์
เด็กไม่สามรถเล่นสิ่งของตามหน้าที่ได้
เด็กไม่มีเพื่อน ไม่เล่นกับเพื่อน
เด็กไม่สามารถเล่นบทบามสมมติได้
B: มีพฤติกรรม ความสนใจ หรือกิจกรรมจำกัดและซ้ำๆ ทั้งที่แสดงในปัจจุบัน หรือจากประวัติ
โดยมีลักษณะอย่างน้อย 2 ข้อจากหัวข้อดังต่อไปนี้
มีการเคลื่อนไหว การใช้สิ่งของ หรือภาษา ๆ แบบเดิม
มีพฤติกรรมไม่สามารถควบคุมการใช้มือได้ เมื่อมีคนมาอยู่ใกล้ๆจะคว้ามือไปดึงจับเสื้อ หรือสายป้ายชื่อของผู้บำบัด
ยึดติดกับกิจวัตรแบบเดิม ๆ โดยไม่ยืดหยุ่น
รับรู้ประสาทสัมผัสไวกว่าปกติถ้ารับประทานข้าวจะรับประทานแต่ข้าวสวยถ้าเปลี่ยนเป็นข้าวกล้องจะหงุดหงิด อารมณ์ไม่ดี
มีการตอบสนองต่อข้อมูลที่ได้รับทางประสาทสัมผัสมากหรือน้อยเกินไป ความรุนแรงขึ้นกับความบกพร่องทางการสื่อสารปฏิสัมพันธ์ และรูปแบบพฤติกรรมที่เกิดขึ้นซ้ำๆ
รับรู้ประสาทสัมผัสไวกว่าปกติถ้ารับประทานข้าวจะรับประทานแต่ข้าวสวยถ้าเปลี่ยนเป็นข้าวกล้องจะหงุดหงิด อารมณ์ไม่ดี
C: อาการต่างๆ ต้องเกิดขึ้นในช่วงต้นของพัฒนาการ (แต่อาจไม่แสดงอาการ เต็มที่จนกระทั่งความต้องการของสังคมมีมากกว่าความสามารถของผู้ป่วย หรืออาจถูกกลบเกลื่อนด้วยการเรียนรู้เมื่อเติบโตขึ้น
เมื่อเด็กอายุ 3 ปี ไม่พูด
เด็กไม่พูด ไม่ฟัง ไม่มีปฏิสัมพันธ์
E: ความผิดปกติเหล่านี้ไม่สามารถอธิบายได้จาก intellectual disability หรือ global delay development
3 พ.ย. 2558 ค่าไอคิว < 24 (ค่าไอคิวอยู่ที่ 20 - 23)
การรักษา/การบำบัด
1) Language intervention
เด็กเคยฝึกพูดตั้งแต่อายุ 9 ปี 6 เดือน ที่โรงพยาบาลรามาธิบดี ฝึกไม่ต่อเนื่องไม่สามารถพูดได้
2) Social competency intervention
อายุ 6 ปี 9 เดือน มารักษาที่ราชานุกุล ยังสื่อสารไม่ได้ การแต่งตัว ขับถ่ายอุจจาระยังต้องช่วย ฝึก Occupational Therapist, Speech therapist
3) Intervention for unwanted behavior
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ได้แก่เด็ก มีพฤติกรรมคว้ามือไปจับคอเสื้อ คนที่อยู่ใกล้ๆ
4) Education intervention
เคยไปโรงเรียนการศึกษาพิเศษแต่เรียนไม่ได้จึงไม่ได้ศึกษาต่อเนื่อง
5) การช่วยเหลือพ่อแม่
ผู้ดูแลหลักคือป้า ได้รับการประเมินความเครียดด้วยแบบประเมิน ST-5 และแนะนำวิธีการจัดการความเครียด
13.การใช้ยา
ทำร้ายตนเองและผู้อื่น • อารมณ์ซึมเศร้า พฤติกรรมซ้ำๆ
Risperidone solution 1 mg ครึ่งเม็ด O เช้าและก่อนนอน
แนวคิดทฤษฎีที่นำมาศึกษาในผู้ป่วยรายนี้ Burrhus F. Skinner (ค.ศ. 1904-1990)
“Operant Conditioning”
Positive reinforcement
Negative reinforcement
Punishment
Time-out
Extinction
Spontaneous recovery
Generalization