Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การจัดระบบข้อมูลในรูปแบบบรรทัดฐาน - Coggle Diagram
การจัดระบบข้อมูลในรูปแบบบรรทัดฐาน
วัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์หลักก็คือลดความซ้ำซ้อนของข้อมูลที่เก็บไว้ในแต่ละชั้น
ทำให้ลดปัญหาข้อมูลขาดความถูกต้องสมบูรณ์
วัตถุประสงค์หลักก็คือ การลดความซ้ำซ้อน
Functional dependency
ความสัมพันธ์ระหว่าง Attribute แบบฟังชั่น หรือ FD
หากทราบค่าของ Attribute A จะสามารถทราบค่าของ Attribute B
ค่าของ Determinant สามารถระบุค่าของ Dependent ได้
ตัวที่ถูกระบุค่าเรียกว่า Dependent
กรณีเลขมีเพียงหนึ่ง Attribute และตัวถูกระบุค่ามากกว่าหนึ่ง Attribute
ตัวระบุค่าเรียกว่า Determinant
กรณีตัวระบุค่า มีมากกว่าหนึ่ง Attribute
และตัวถูกระบุค่ามี เพียงหนึ่ง Attribute
Normalization
รูปแบบที่เป็นบรรทัดฐานชั้นที่3
รูปแบบที่เป็นบรรทัดฐานของบอยส์และคอดด์
รูปแบบที่เป็นบรรทัดฐานชั้นที่2
รูปแบบที่เป็นบรรทัดฐานชั้นที่5
รูปแบบที่เป็นบรรทัดฐานชั้นที่1
รูปแบบที่เป็นบรรทัดฐานชั้นที่5
Fully functional dependency
Fully functional dependency (ความสัมพันธ์ระหว่าง Attribute แบบทั้งหมด)
Determinant มีขนาดเล็กที่สุด และสามารถระบุค่า Attribute
อื่นๆ ที่เป็น Dependent ได้อย่างชัดเจน
ความสัมพันธ์ระหว่าง Attribute
เมื่อทราบค่าของ Attribute จะสามารถทราบค่าของ Attribute อื่นๆ ใน(Tuple) เดียวกันของริเลชั่นได้
รูปแบบบรรทัดฐาน( Normalization)
เพื่อลดความซ้ำซ้อนของข้อมูล ที่จัดเก็บในแต่ละชั้น
ลดปัญหาข้อมูลไม่ถูกต้อง และ ลดปัญหาที่เกิดจากการเพิ่มเติม ปรับปรุง ลบข้อมูล