Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 5 ตัวแปรประชากรและกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนาการเ…
หน่วยที่ 5
ตัวแปรประชากรและกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
5.1 ตัวแปรในการวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
5.1.1 ความหมายและความสำคัญของตัวแปร
ความหมาย ตัวแปร หมายถึง คุณลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่งที่ผู้วิจัยสนใจศึกษาอาจเป็นสิ่งมีชีวิตหรือไม่มีชีวิตเป็นสิ่งที่เปลี่ยนค่าได้ตั้งแต่ 2 ค่าขึ้นไป
ความสำคัญของตัวแปร
1เป็นตัวเชื่อมโยงกับแนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัย
2 เป็นองค์ประกอบสำคัญและถูกนำมาแสดงความเชื่อมโยงกันในกรอบแนวคิดการวิจัย
3 ถูกนำมากำหนดเป็นสมมติฐานการวิจัย
4 ช่วยให้สามารถวัดและทดสอบได้
5 ระดับการวัดตัวแปรมีความสำคัญต่อการวิเคราะห์ข้อมูล
6 ตัวแปรที่ชัดเจนนำไปสู่คำตอบของข้อความรู้หรือปัญหาที่ชัดเจนได้
5.1.2 ประเภทของตัวแปร
1 การจำแนกตัวแปรตามการให้ความหมายเชิงนโยบาย
1.1 ตัวแปรมาตรฐาน
1.2 ตัวแปรเชิงนโยบาย
2 การจำแนกตัวแปรตามคุณสมบัติของค่าตัวแปร
2.1 ตัวแปรเชิงปริมาณ
2.2 ตัวแปรเชิงคุณภาพ
3 การจำแนกประเภทตัวแปรโดยพิจารณาความต่อเนื่องของค่าตัวแปร
3.1 ตัวแปรต่อเนื่อง
3.2 ตัวแปรไม่ต่อเนื่อง
4 การจำแนกตัวแปรตามความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรในเชิงเหตุและผล
4.1 ตัวแปรอิสระหรือตัวแปรต้น
4.2 ตัวแปรตาม
4.3 ตัวแปรแทรกซ้อนหรือตัวแปรเกิน
4.4 ตัวแปรแทรก
4.5 ตัวแปรกด
6 ตัวแปรมาก่อน
ที่มาของตัวแปร
1ศึกษาจากแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ศึกษา
2 ศึกษาจากงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ศึกษา
3 รวบรวมจากข้อเท็จจริงเชิงประจักษ์
5.1.3 การนิยามตัวแปร
1 กำหนดตัวแปรของการวิจัย
2 นิยามตัวแปร
2.1 การนิยามในรูปแนวคิดหรือการนิยามทั่วไป
2.2 การนิยามเชิงปฏิบัติการ
ความหมาย การวัดตัวแปรการวัดเป็นการแปรสภาพข้อความคิดหรือแนวคิดซึ่งมีลักษณะเป็นนามธรรมให้เป็นข้อมูลทางสถิติอาจเป็นเชิงปริมาณหรือเชิงคุณภาพการวัดตัวแปรจึงเป็นการจัดระเบียบข้อมูลให้อยู่ในสภาพที่วิเคราะห์หรือเข้าใจได้ผู้วิจัยสามารถวัดตัวแปรการกำหนดกิจกรรมได้โดยแบ่งเป็น
1 มีการกำหนดกิจกรรม
2 ไม่มีการกำหนดกิจกรรม
ประเภทของการวัดตัวแปร
1 การวัดทางจิตวิทยาวิทยา
2 การวัดทางกายภาพ
ระดับการวัดตัวแปร
1 การวัดแบบกลุ่มหรือนามมาตร
2 การวัดแบบจัดอันดับหรืออันดับมาตร
3 การวัดแบบช่วงหรือช่วงมาตร
4 การวัดแบบอัตราส่วนหรืออัตราส่วนมาตร
ประชากร
ความหมาย ประชากร หมายถึง กลุ่มของสิ่งที่ต้องการศึกษาทั้งหมดซึ่งอาจจะเป็นคนจัดพืชวัตถุหรือปรากฏการณ์ต่างๆขึ้นกับวัตถุประสงค์ของการวิจัยอาจมีหลายกลุ่มดังนี้
1 ประชากรมีกลุ่มเดียวหรือหลายกลุ่ม
2 ประชากรเป็นหน่วยที่อยู่ในระดับเดียวกัน
3 ประชากรเป็นหน่วยที่อยู่ต่างระดับได้
ประเภทของประชากรในการวิจัย
1 ประชากรที่มีจำนวนจำกัด
2 ประชากรที่มีจำนวนไม่จำกัด
กลุ่มตัวอย่าง
ความหมายของกลุ่มตัวอย่าง หมายถึง ส่วนหนึ่งของประชากรซึ่งผู้วิจัยนำมาใช้เป็นตัวแทนของประชากรในการศึกษาโดยนำข้อเท็จจริงที่ค้นพบจากกลุ่มตัวอย่างนี้ไปอ้างอิงเป็นข้อความจริงของประชากร
ความสำคัญของการสุ่มตัวอย่าง
1 ได้ตัวแทนของประชากรที่ศึกษาเพื่อมาตอบคำถามตามวัตถุประสงค์ของงานวิจัย
2 การสุ่มตัวอย่างช่วยในการประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายในการเก็บรวบรวมข้อมูล
3 สร้างความถูกต้องเชื่อถือได้ของข้อมูลได้สูง
4 สามารถนำไปใช้กับการตอบปัญหาการวิจัยได้ทันเวลา
5 การเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างมีรายละเอียดของข้อมูลมาก
6 ค่าสถิติของกลุ่มตัวอย่างสามารถนำไปอ้างอิงขยายผลได้
5.2.2 การกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง
วิธีการกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง
1 การกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างกรณีไม่ทราบจำนวนประชากรแน่นอน
2 การกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างกรณีทราบจำนวนประชากรแน่นอน
2.1 การกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างโดยใช้เกณฑ์
2.2 การกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรคํานวณ Yamane
2.3 การกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางสำเร็จ
2.3.1 ตารางสําเร็จรูปของยามาเน่
2.3.2 ตารางสําเร็จรูปของ Krejcie and Morgan
ข้อควรพิจารณาในการกำหนดขนาดตัวอย่าง
1 วัตถุประสงค์ของการวิจัย
2 ความคลาดเคลื่อนระหว่างค่าที่แท้จริงกับค่าสถิติที่ใช้เป็นตัวประมาณค่าที่ผู้วิจัยยอมรับได้
3 ความแปรปรวนของประชากร
4 ขนาดของประชากรถ้าจำนวนของตัวแปรที่ใช้ในการศึกษา
6 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
7 ธรรมชาติของการวิจัย
8 จำนวนของบุคคลที่มีคุณสมบัติเป็นประชากรในการศึกษา
9 อัตราการตอบที่ต้องการได้รับคืน
10 ข้อจำกัดด้านทรัพยากรอื่นๆ