Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 3 การทบทวนวรรณกรรมในการวิจัย ทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร -…
หน่วยที่ 3
การทบทวนวรรณกรรมในการวิจัย
ทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
3.1 แนวคิดเกี่ยวกับการทบทวนวรรณกรรมในการวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
3.1.1 ความหมายและความสำคัญของการทบทวนวรรณกรรมในการวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ความหมาย
3.1.1 การทบทวนวรรณกรรม หมายถึงการศึกษาค้นคว้าเพื่อรวบรวมแนวคิดทฤษฎีและงานวิจัยต่างๆที่เกี่ยวข้องกับปัญหาการวิจัยหรือตัวแปรการวิจัย ซึ่งผู้วิจัยจะต้องไปศึกษาค้นคว้ามาก่อนที่จะลงมือทำวิจัยแล้วนำมาสรุปให้เข้าใจง่ายเพื่อจะนำมาใช้ประโยชน์ในขั้นตอนต่างๆของการทำวิจัย การทบทวนวรรณกรรมในการวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรจึงเป็นการศึกษาค้นคว้ารวบรวมและประมวลผลงานทางวิชาการที่เกี่ยวข้องกับเรื่องหรือประเด็นที่ทำการวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ผ่านมา จนถึงงานที่ทันสมัยที่สุดในสาขาวิชานี้ซึ่งสามารถดำเนินการได้ทั้งก่อนและระหว่างทำการวิจัยเพื่อประมวลและสรุปแนวคิดและทฤษฎีต่างๆที่จะช่วยให้แนวทางในการกำหนดกรอบแนวคิดหรือสมมติฐานการวิจัยและตัวแปรที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งการออกแบบการวิจัยและการดำเนินการวิจัยในขั้นตอนต่อๆไปทุกขั้นตอนของกระบวนการวิจัย จนถึงการเขียนข้อสรุปการอภิปรายผลและการเขียนข้อเสนอแนะจากผลการวิจัย
ความสำคัญ
1.1 ในขั้นการเตรียมการวิจัย
1.1.2 การกําหนดปัญหาการวิจัยหรือโจทย์การวิจัย
1.1.3 การออกแบบการวิจัย
1.1.1 การปูพื้นฐานในสาขาวิชาที่สนใจจะทำการวิจัย
1.1.4 การเขียนโครงการวิจัย
1.2 ในขั้นการดำเนินการวิจัย
1.2.2 การเก็บรวบรวมข้อมูล
1.2.3 การวิเคราะห์ข้อมูล
1.2.1 การสร้างเครื่องมือการวิจัย
1.3 ในขั้นการรายงานและเผยแพร่ผลการวิจัย
1.3.1 การเขียนรายงานการวิจัย
1.3.2 การเผยแพร่ผลการวิจัย
ในการสนับสนุนการดำเนินการวิจัยให้มีประสิทธิภาพ
2.2 ช่วยให้มองเห็นปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นในการทำวิจัย
2.3 ช่วยประหยัดเวลาแรงงานและงบประมาณ
2.1 ช่วยหลีกเลี่ยงการทำวิจัยซ้ำกับผู้อื่น
2.4 ช่วยให้งานวิจัยมีคุณค่าน่าเชื่อถือสร้างคุณภาพและมาตรฐานเชิงวิชาการ
3.1.2 วัตถุประสงค์ กิจกรรม และข้อควรปฏิบัติในการทบทวนวรรณกรรมในการวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
วัตถุประสงค์ของการทบทวนวรรณกรรมในการวิจัย
3 เพื่อกำหนดขอบเขตและเลือกปัญหาการวิจัยที่มีประโยชน์และมีความทันสมัยทางวิชาการ
4 เพื่อกำหนดกรอบแนวคิดการวิจัยและสมมติฐานการวิจัย
2 เพื่อหลีกเลี่ยงการทำวิจัยซ้ำกับผู้อื่น
5 เพื่อออกแบบการวิจัยและเลือกใช้วิธีการวิจัยให้เหมาะสมเพื่อเขียนรายงานการวิจัยที่ดีมีคุณค่าและน่าเชื่อถือ
1 เพื่อเสริมสร้างความมั่นใจให้ผู้วิจัย ว่ามีความรอบรู้เป็นอย่างดีในเรื่องที่จะทำการวิจัย
กิจกรรมในการทบทวนวรรณกรรมในการวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
1 การค้นคว้าวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
1.2 ระบุวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องและแหล่งวรรณกรรม
1.3 สืบค้นจัดหาวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
1.1 กำหนดวัตถุประสงค์ของการค้นคว้าวรรณกรรม
1.4 อ่านและจดบันทึกสาระจากวรรณกรรม
2 การนำเสนอวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
2.2 กำหนดโครงร่างของรายงานวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
2.3 เขียนร่างรายงานวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
2.1 ตรวจสอบคุณค่าจัดกลุ่มวิเคราะห์และสังเคราะห์สาระจากวรรณกรรมที่ได้บันทึกไว้
2.4 ประเมินและปรับปรุงแก้ไขรายงานวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
ข้อควรปฏิบัติในการทบทวนวรรณกรรมในการวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
3 สืบค้น/จัดหาวรรณกรรมจากแหล่งสารสนเทศทุกช่องทาง
4 ความทันสมัยหรือเป็นปัจจุบัน
2 ทบทวนวรรณกรรมอย่างมีเป้าหมาย
5 ทำการคัดสรรจัดหมวดหมู่วิเคราะห์และสังเคราะห์และประมวลเป็นข้อสรุปในการนำเสนอวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
1 ทบทวนวรรณกรรมตลอดกระบวนการวิจัย
6 ทำการอ้างอิงวรรณกรรมอย่างถูกต้องและเหมาะสม
6.2 หลีกเลี่ยงการอ้างอิงจากแหล่งค้นทุติยภูมิ
6.3 ทำการอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูลสารสนเทศอย่างถูกต้อง
6.3.1 การอ้างอิงถึงแหล่งที่มาของผลงานซึ่งสืบค้นจากแหล่งค้นทุติยภูมิ
6.3.2 การอ้างอิงโดยสื่อความให้ครอบคลุมเนื้อหาสาระที่อ้างอิงอย่างครบถ้วน
6.1 นำเสนอวรรณกรรมโดยอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูลสารสนเทศ
6.4 ทบทวนวรรณกรรมให้ครอบคลุมเนื้อหาสาระที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัยให้ครบถ้วน
6.4.1 ครอบคลุมตัวแปรที่ศึกษา
6.4.2 ครอบคลุมเครื่องมือการวิจัย
3.2 การค้นคว้าวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องในการวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
3.2.2 ขั้นตอนการค้นคว้าวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
1 กำหนดวัตถุประสงค์ และขอบเขตของการศึกษาวรรณกรรม การค้นคว้าวรรณกรรมมีวัตถุประสงค์
1.2 เพื่อศึกษาและสังเคราะห์สารสนเทศจากวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
1.3 เพื่อให้ผู้วิจัยเกิดการเรียนรู้และนำความรู้นั้นไปใช้ประโยชน์ในการทำวิจัยได้ดีสำหรับการกำหนดขอบเขตของการศึกษาวรรณกรรมให้ชัดเจน โดยกำหนดคำสำคัญและประเด็นที่จะศึกษาเพื่อจำกัดการสืบค้นสารสนเทศอยู่ในขอบเขตที่ผู้วิจัยต้องการศึกษา
1.1 เพื่อค้นหาวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องไปใช้ประโยชน์ในการวางแผนดำเนินการส่วนใดส่วนหนึ่งของกระบวนการวิจัย
2 ระบุวรรณกรรม ที่เกี่ยวข้องและแหล่งวรรณกรรม
4 อ่านและจดบันทึกสาระจากวรรณกรรม
5 เตรียมการวิเคราะห์และสังเคราะห์วรรณกรรม
3 สืบค้น/จัดหาวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
3.2.3 การกำหนดขอบเขตการสืบค้นข้อมูลสารสนเทศและการระบุแหล่งที่มาในการทบทวนวรรณกรรมในการวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
1 กำหนดคำสำคัญ หลักการ
1.2 จำนวนคำและตัวอักษรแต่ละคำไม่ควรเกิน 75 ตัวอักษร
1.3 พิจารณาจากชื่อเรื่องหรือหัวข้อการวิจัย
1.1 เป็นคำหรือวลี
2 การกำหนดประเด็นที่จะทบทวนวรรณกรรม
2.1 พิจารณาจากวัตถุประสงค์ของการทบทวนวรรณกรรม
3 เพื่อกำหนดขอบเขตและเลือกปัญหาการวิจัยที่มีประโยชน์และมีความทันสมัยทางวิชาการ
4 เพื่อกำหนดกรอบแนวคิดและสมมติฐานการวิจัย
2 เพื่อหลีกเลี่ยงการทำวิจัยซ้ำกับผู้อื่น
5 เพื่อให้ได้แนวทางในการออกแบบการวิจัยและเลือกใช้วิธีการวิจัยให้เหมาะสม
1 เพื่อปูพื้นฐานในเรื่องที่สนใจจะวิจัย
6 เพื่อให้นำเสนอรายงานการวิจัยได้ดีมีคุณค่าและน่าเชื่อถือ
2.2 พิจารณาจากวัตถุประสงค์การวิจัย โดยวัตถุประสงค์ จะต้องสอดคล้องกับโจทย์หรือปัญหาการวิจัยและหัวข้อการวิจัย ผู้วิจัยจะต้องสร้างเครื่องมือ การวิจัยสำหรับใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล การกำหนดประเด็นที่จะทบทวนวรรณกรรมประเภทงานวิจัยที่เกี่ยวข้องนั้น เป็นประเด็นที่จะต้องตอบคำถาม1 ใคร 2 ทำอะไร 3 ทำกับใคร 4ที่ไหน 5 เมื่อใด 6 อย่างไร 7 ผลเป็นอย่างไร
การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศเพื่อทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง แหล่งสืบค้นสารสนเทศที่สำคัญ
2 อินเทอร์เน็ต www.google.com
3 แหล่งอื่นๆ เช่น บุคคล กลุ่มบุคคล หน่วยงาน องค์การและสถาบัน
1 ห้องสมุด
1.1 สื่อสิ่งพิมพ์ได้แก่
2 วารสารวิชาการ
1 หนังสือและตำรา
3 สารานุกรม
4 เอกสารประกอบการนำเสนอในที่ประชุมวิชาการ
5 รายงานของหน่วยงานในภาครัฐและเอกชน
6 วิทยานิพนธ์ปริญญาโทและเอก
1.2 สื่อโสตทัศน์ เช่น แผนที่ แผนภาพ กราฟ รูปภาพสไลด์และวีดีทัศน์เป็นต้น
1.3 สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ ฐานข้อมูลคอมพิวเตอร์
การระบุแหล่งที่มาของข้อมูลสารสนเทศ
1 หนังสือ 1.1 การระบุสำหรับการอ้างอิงควรระบุชื่อนามสกุลผู้เขียนปีที่พิมพ์ชื่อเรื่อง สถานที่พิมพ์สำนักพิมพ์ และระบุเลขหน้าไว้ด้วย
2 หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ควรระบุชื่อนามสกุลผู้เขียนหรือหน่วยงานที่เผยแพร่วงเล็บปีที่พิมพ์ชื่อเรื่องและหรือชื่อหนังสือชื่อเมืองและสำนักพิมพ์ถ้ามีสืบค้นจากระบุ URL วันที่สืบค้นระบุวันที่เดือนปี
3 วารสารต้องระบุชื่อนามสกุลผู้เขียนปีที่พิมพ์ชื่อบทความชื่อวารสารปีที่พิมพ์วงเล็บฉบับที่รวมถึงเลขหน้าของวารสารด้วย
3.2.1 ประเภทและขอบเขตของวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องในการวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
3.2.1 ประเภทของวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
1 การจำแนกประเภทตามลักษณะของวรรณกรรม
1.2 วรรณกรรมปฐมภูมิ
1.2.3 บทความวิจัย
1.2.4 บทความสังเคราะห์งานวิจัยที่ลงพิมพ์ในวารสารวิชาการและวารสารอิเล็กทรอนิกส์
1.2.2 บทความสังเคราะห์บทความวิชาการหรือบทความปริทัศน์
1.2.5 รายงานวิจัยและวิทยานิพนธ์ที่เป็นรายงานฉบับสมบูรณ์
1.2.1 บทความทางวิชาการ
1.3 วรรณกรรมทุติยภูมิ
1.3.2 พจนานุกรม
1.3.3 สารานุกรม
1.3.1 หนังสือประเภทตำราและคู่มือ
1.3.4 ปริทัศน์งานวิจัย
1.3.5 สื่อสิ่งพิมพ์อื่นๆ
1.1 วรรณกรรมอ้างอิงทั่วไป
1.1.3 เครื่องกลสืบค้น
1.1.4 บทคัดย่องานวิจัย
1.1.2 รายการเอกสาร
1.1.5 บทคัดย่อบทความ
1.1.1 ดรรชนีวารสาร
2 การจำแนกประเภทตามลักษณะของเนื้อหาสาระในวรรณกรรม
2.1 วรรณกรรมที่เป็นงานวิจัย
2.2 วรรณกรรมที่ไม่ใช่งานวิจัย
3 การจำแนกประเภทตามลักษณะของการจัดทำวรรณกรรม
3.1 วรรณกรรมที่มีการจัดพิมพ์เผยแพร่
3.1.1 วรรณกรรมที่มีการจัดพิมพ์เผยแพร่แบบมีการปริทัศน์โดยผู้ทรงคุณวุฒิ
3.1.2 วรรณกรรมที่มีการจัดพิมพ์เผยแพร่แบบไม่มีการปริทัศน์
3.2 วรรณกรรมที่ไม่มีการจัดพิมพ์เผยแพร่
ขอบเขตของการทบทวนวรรณกรรม
1 เนื้อหาเชิงทฤษฎีและผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
2เนื้อหาเชิงเทคนิควิธีการวิจัย
3.3 การนำเสนอวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องในการวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
3.3.2 การนำเสนอวรรณกรรมทั่วไปที่เกี่ยวข้องในการวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
3.3.3 การนำเสนอวรรณกรรมที่เป็นงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
หลักการนำเสนอวรรณกรรมที่เป็นงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
3 จัดหมวดหมู่และระบุชื่อผลงานวิจัยที่นำมาเสนอในรายงานการทบทวนวรรณกรรม
4 จัดลำดับเนื้อหาของการเขียนด้วยใจเป็นกลาง
2 เขียนในลักษณะเรียบเรียง
5 ทำการสรุปเพื่อแสดงตัวแปรที่จะศึกษาและกำหนดกรอบแนวคิดการวิจัย
1 เขียนให้ตรงกับประเด็นที่อยู่ภายในขอบเขตของงานวิจัยที่จะทำ
6 การอ้างอิง
7 ทำการตรวจสอบและปรับปรุงงานเขียน
ลักษณะการนำเสนอผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
1 เขียนในลักษณะพรรณนาตัวแปรที่ศึกษาจะเห็นได้ว่า
1.1 มีการจัดเป็นหมวดหมู่
1.2 มีการนำเสนอในลักษณะพรรณนาหรือบรรยาย
1.3 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
2 เขียนในลักษณะระบุความสัมพันธ์หรือความแตกต่างของตัวแปร
3.3.1 หลักการและขั้นตอนการนำเสนอวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องในการวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
2 หลักการนำเสนอรายงานตามวัตถุประสงค์การวิจัย
3 หลักการวางโครงร่าง
3.2 หัวข้อต่างๆที่กำหนดขึ้นทุกหัวข้อต้องมีความต่อเนื่องเชื่อมโยงกัน
3.3 หัวข้อต่างๆที่กำหนดขึ้นต้องมีส่วนที่จะนำไปใช้ประโยชน์ในการทำวิจัยครั้งนี้
3.1 หัวข้อต่างๆที่กำหนดขึ้นนั้นต้องมีความเกี่ยวข้องโดยตรงกับปัญหาการวิจัย
1 หลักการนำเสนอรายงานที่เหมาะสมกับผู้อ่าน
1.1 การนำเสนอวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องในรายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์หรือบทความวิจัยสำหรับนักวิชาการ
1.2 การนำเสนอวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องในรายงานการวิจัยฉบับสรุปสำหรับผู้บริหาร
4 หลักการใช้ภาษาในการนำเสนอรายงานวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
ขั้นตอนการนำเสนอวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
1 ตรวจสอบคุณค่า จัดกลุ่ม วิเคราะห์และสังเคราะห์สาระจากวรรณกรรมที่ได้บันทึกไว้
1.1 การตรวจสอบคุณค่าและจัดกลุ่มวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
1.1.2 การจัดกลุ่มวรรณกรรม
1.1.3 การตรวจสอบปริมาณของวรรณกรรมในแต่ละกลุ่ม
1.1.1 การตรวจสอบคุณค่าของวรรณกรรม 4 ด้าน
2 ความน่าเชื่อถือ
2.1 ผู้เขียนหรือผู้เผยแพร่
2.2 แหล่งที่มาหรือแหล่งที่เผยแพร่
3 ความเป็นปัจจุบัน
1 ความเกี่ยวข้องโดยตรง
1) เป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับเรื่องที่จะวิจัย
2)เป็นแนวคิดทฤษฎีและผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่จะวิจัย
4 ความถูกต้องตามระเบียบวิธีวิจัย
1.2 การวิเคราะห์และสังเคราะห์วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
1.2.1 การวิเคราะห์วรรณกรรมที่เกี่ยวข้องหมายถึงการจำแนกแยกแยะส่วนประกอบหรือเนื้อหาสาระของวรรณกรรมออกเป็นส่วนส่วนเพื่อค้นหาประเด็นหลักหรือสาระสำคัญโดยแยกเรื่องที่ไม่เกี่ยวข้องกันหรือเป็นคนละประเด็นออกจากการและบ่งชี้ความสัมพันธ์เชื่อมโยงกันของส่วนย่อยหรือความสัมพันธ์ของส่วนย่อยกับส่วนใหญ่ ลักษณะการวิเคราะห์วรรณกรรมที่นิยมปฏิบัติ
2 การวิเคราะห์ประเด็นหรือสาระสำคัญ
3 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์
1 การวิเคราะห์ส่วนประกอบ
1.2 วรรณกรรมที่เป็นงานวิจัย
1.1 วรรณกรรมทั่วไปที่ไม่ใช่งานวิจัย
1.2.2 การสังเคราะห์วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง หมายถึง การรวบรวมส่วนประกอบย่อยทั้งหลายของวรรณกรรมมาผสมผสานจัดระบบให้เป็นสิ่งใหม่รูปแบบใหม่เรื่องใหม่โครงสร้างใหม่เพื่ออธิบายข้อมูลหรือปรากฏการณ์บางอย่างที่สัมพันธ์กันจากการนำหลักการความคิดมาผสมผสานให้เกิดสิ่งใหม่หรือให้ข้อสรุปความสัมพันธ์นั้นได้การสังเคราะห์วรรณกรรมที่เกี่ยวข้องมี 3 ลักษณะ
2 การบูรณาการ
3 การสังเคราะห์เชิงปริมาณแบบง่าย
1 การเรียบเรียง
2 กำหนดโครงร่างของรายงานวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
หลักการสำคัญในการกำหนดโครงร่างคือหลักของความตรงหรือเกี่ยวข้องกับปัญหาการวิจัย
3 เขียนร่างรายงานวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องและ การจัดทำรายงานวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง เนื้อหาสาระที่ได้จากการค้นคว้าวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องอาจไปปรากฏอยู่ในส่วนต่างๆของรายงานการวิจัยได้เกือบทุกบทดังนี้
4 ส่วนอภิปรายผลการวิจัย
5 ส่วนข้อเสนอแนะ
3 วิธีดำเนินการวิจัย
6 ส่วนอ้างอิง
2 ส่วนเนื้อเรื่องของวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
1 ส่วนนำ
1.3 สมมติฐานการวิจัย
1.2 กรอบแนวคิดการวิจัย
1.4 นิยามศัพท์
1.5 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1.1 ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหาการวิจัย
4 ประเมินและปรับปรุงแก้ไขรายงานวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
การเขียนรายงานผลการศึกษาค้นคว้าวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
2 กำหนดโครงร่างของรายงานวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
3 เขียนร่างรายงานวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
1 ตรวจสอบคุณค่าจัดกลุ่มวิเคราะห์และสังเคราะห์สาระจากวรรณกรรมที่ได้บันทึกไว้
4 ประเมินและปรับปรุงแก้ไขรายงานวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง โดยอาศัยหลักการนำเสนอ 4 ประการคือ
3 หลักการวางโครงร่างรายงานวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
4 หลักการใช้ภาษาในการเขียนรายงานวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
2 ตามวัตถุประสงค์การวิจัย
1 หลักการนำเสนอรายงานที่เหมาะสมกับผู้อ่าน
3.3.4 การประเมินคุณภาพของรายงานวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
ต้องตรวจว่าครอบคลุมประเด็นต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับปัจจัยทั้งสองประการนี้
1 คุณภาพของวรรณกรรมที่ไปสืบค้นมานำเสนอในรายงาน
1.4 ความเหมาะสมของสัดส่วนระหว่างวรรณกรรมภาษาไทยกับภาษาต่างประเทศ
1.5 ความถูกต้องและครอบคลุมของสาระในรายงาน
1.3 ความสมบูรณ์ของวรรณกรรม
1.2 ความทันสมัยของวรรณกรรม
1.1 ความสอดคล้องของวรรณกรรมกับวัตถุประสงค์หรือปัญหาการวิจัย
2 ความสามารถและความพยายามของผู้วิจัยในการจัดทำรายงาน
2.1 ความเหมาะสมของวิธีการนำเสนอรายงาน
2.2 การใช้ประโยชน์จากวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
2.3 ศักยภาพและความพยายามในการจัดทำรายงานของผู้วิจัย