Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 1 แนวคิดการวิจัยทางการส่งเสริม และพัฒนาการเกษตร, 1.1…
หน่วยที่ 1
แนวคิดการวิจัยทางการส่งเสริม
และพัฒนาการเกษตร
1.2 ขอบเขตของการวิจัยเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
1.2.2 การวิจัยเพื่อการถ่ายทอดวิทยาการ
การถ่ายทอด หมายถึง การกระจายเสียงหรือแพร่ภาพรายการที่รับจากสถานีอื่นหรือสถานที่อื่น โดยปริยายหมายความว่าการนำเรื่องที่รู้ไปเล่าต่อวิทยาการหมายถึงความรู้แขนงต่างๆบางทีใช้คำว่าศิลปะวิทยาการการถ่ายทอดวิทยาการหมายถึงการกระจายเปิดการเผยแพร่การสอนหรือส่งต่อความรู้ด้านต่างๆไปสู่บุคคลเป้าหมายซึ่งการถ่ายทอดวิทยาการนี้ตรงกับภาษาอังกฤษว่า knowledge transfer
การพัฒนากระบวนการถ่ายทอดวิทยาการ
3 เป็นข้อมูลพื้นฐานที่สำคัญในการไปประยุกต์พัฒนากระบวนการถ่ายทอดให้เหมาะสมยิ่งขึ้น
4 นำไปสู่ข้อเสนอแนะสำหรับการวางแผนการถ่ายทอดและดำเนินการถ่ายทอดให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
2 ช่วยให้ช่วยในการอธิบายถึงความสำเร็จความล้มเหลวที่เกิดจากการถ่ายทอดในบริบทและสถานการณ์ต่างๆ
5 นำไปสู่การพัฒนาและยกระดับความรู้ต่างๆโดยอาจอยู่ในรูปแบบจำลองทฤษฎีและองค์ความรู้ด้านการถ่ายทอดซึ่งสามารถนำไปอธิบายตีความหรือคาดคะเนเหตุการณ์ต่อไปในอนาคต
1 การวิจัยด้านการถ่ายทอดวิทยาการนำไปสู่ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับกระบวนการถ่ายทอด
6 ช่วยตรวจสอบแนวคิดทฤษฎีที่มีอยู่ว่าสามารถนำมาอธิบายเหตุการณ์ต่างๆได้จริงแม่นยำเพียงใด
7 อาจเชื่อมโยงกับการวิจัยการเรียนรู้ของบุคคลเป้าหมายหรือกลุ่มเป้าหมายว่าจากการถ่ายทอดวิทยาการเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือไม่อย่างไรมากน้อยเพียงใด
ขอบเขตของการวิจัยการถ่ายทอดวิทยาการ
5 ขอบเขตการวิจัยในส่วนของช่องทางการถ่ายทอด
4 ขอบเขตการวิจัยในส่วนของสื่อ
6 ขอบเขตการวิจัยด้านการรับรู้และการเรียนรู้ของเกษตรกร
3 ขอบเขตการวิจัยในส่วนวิทยาการ
7 ขอบเขตการวิจัยในสิ่งรบกวนการถ่ายทอดวิทยาการเป็นขอบเขตที่ศึกษา
2 ขอบเขตการวิจัยในส่วนเกษตรกร
8 ขอบเขตการวิจัยในกระบวนการจัดการความรู้และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ก้าวขอบเขตด้านการประเมินผล
1 ขอบเขตการวิจัยในส่วนนักส่งเสริม
1.2.3 การวิจัยเพื่อพัฒนาบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
จุดมุ่งหมายของการพัฒนาเกษตรกร
2 สร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจ
3 สร้างความมั่นคงทางสังคม
1 สร้างความมั่นคงต่อชีวิต
4 สร้างความรู้และเสริมสร้างสติปัญญา
การวิจัยที่เกี่ยวกับการพัฒนาบุคคลที่เกี่ยวข้อง
4 การวิจัยเกี่ยวกับการรวมกลุ่มของเกษตรกร
5 การวิจัยเกี่ยวกับภาวะผู้นำของบุคคลที่เกี่ยวข้อง
3 การวิจัยเกี่ยวกับความเชื่อและทัศนคติของเกษตรกร
6 การวิจัยเกี่ยวกับพฤติกรรมและการวางตัวของบุคคลที่เกี่ยวข้อง
2 การวิจัยเพื่อศึกษาปัญหาและความต้องการของเกษตรกร
7 การวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาและการช่วยเหลือตนเองของเกษตรกร
1 การวิจัยเกี่ยวกับสภาพพื้นฐานของบุคคลที่เกี่ยวข้อง
1.2.1 การวิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้ด้านการเกษตร
ขอบเขตของการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
5 พัฒนาคุณภาพชีวิตของเกษตรกรในชนบท
6 พัฒนาเยาวชน
4 จัดการไร่นาและครัวเรือนการเกษตร
7 พัฒนาผู้นำเกษตรกรและแม่บ้าน
3 การตลาดและอุตสาหกรรมแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร
2 อนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติ
1 พัฒนาผลผลิตทางการเกษตร
8 พัฒนาชุมชนชนบท
ส่วนแรกการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเริ่มจากการศึกษาตัวเกษตรกรและชุมชนที่เกษตรกรอาศัยอยู่ ผ่านกระบวนการคิดวิเคราะห์เชิงระบบ
ส่วนที่ 2 การนำความรู้จากคลังความรู้ไปใช้พิจารณาเป็น 2 ส่วนคือส่วนที่เป็นศาสตร์หรือส่วนที่เป็นศิลป์ เมื่อนักส่งเสริมได้ทราบถึงนวัตกรรมแล้วส่วนสำคัญของรูปแบบนี้คือการถ่ายทอดนวัตกรรมไปสู่เกษตรกรผ่านหลักการสื่อสาร ซึ่งสรุปเป็นขอบเขตการวิจัยในงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรได้ 4 ด้านคือ
2 ด้านการถ่ายทอดวิทยาการ
3 ด้านบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
1 ด้านองค์ความรู้
4 ด้านการพัฒนางานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การวิจัยเกี่ยวกับเทคโนโลยีการเกษตรเพื่อสร้างองค์ความรู้ด้านการเกษตรแยกออกได้ดังนี้
2 การวิจัยเพื่อพัฒนาผลผลิตทางการเกษตร
2.2 ทางด้านปศุสัตว์
2.3 ทางด้านประมง
2.1 เพื่อพัฒนาผลผลิตจากพืชเศรษฐกิจ
2.4 ด้านป่าไม้
3 งานวิจัยเพื่ออนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติ
3.2 เพื่อพัฒนาน้ำ
3.3 เพื่ออนุรักษ์และพัฒนาป่าไม้
3.1 การวิจัยเพื่ออนุรักษ์และพัฒนาดิน
3.4 เพื่ออนุรักษ์และพัฒนาสภาพอากาศ
1 การวิจัยภูมิปัญญา
4 การวิจัยการตลาดและอุตสาหกรรมแปรรูปทางการเกษตร
4.1 การวิจัยระบบตลาดของสินค้าเกษตร product Price Place Logistics โปรโมชั่น
4.2 การวิจัยด้านอุตสาหกรรมแปรรูปทางการเกษตร ศึกษารูปแบบวิธีการดำเนินงานของอุตสาหกรรม
1.2.4 การวิจัยเพื่อพัฒนางานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การพัฒนางาน หมายถึง การดำเนินการใดๆที่มีจุดมุ่งหมายให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในการดำเนินงานโดยการปรับปรุงวิธีการต่าง
การวิจัยเพื่อพัฒนางานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร หมายถึง การศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับการดำเนินการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรอันได้แก่ การบริหารงานลักษณะงานกระบวนการดำเนินงานการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน ๆที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงาน ได้แก่ บุคลากรทรัพยากรกระบวนการทำงาน
ขอบเขตของการวิจัยเพื่อพัฒนางาน
2 การวิจัยเพื่อสร้างสรรค์งาน
3 การวิจัยเพื่อพัฒนากระบวนการทำงาน
1 การวิจัยการบริหารการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
4 การวิจัยเพื่อติดตามประเมินผลงานและผลการปฏิบัติงาน
R2r พัฒนางานประจำสู่งานวิจัย
3 เกิดเป็นองค์ความรู้ใหม่
4 นำผลการวิจัยมาพัฒนางานของตนเอง
2 ใช้ระเบียบวิจัย
5 มีผลต่อการพัฒนาตนเองและพัฒนางาน
1 ปัญหางานวิจัยมาจากงานประจำ
ความสำคัญของการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย
3 สามารถนำผลการวิจัยมาแก้ปัญหาในงานหน้าที่ของผู้วิจัยได้
4 เป็นการแก้ปัญหาของงานวิจัยที่ไม่ได้ใช้ประโยชน์อย่างแท้จริง
2 ผู้วิจัยมีความรู้และประสบการณ์ในเรื่องที่จะวิจัย
5 เปลี่ยนทัศนคติของผู้ปฏิบัติงานให้มองการทำวิจัยไม่ใช่เรื่องยากสร้างความสุขจากการทำงานวิจัย
6 เสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพสติปัญญาของผู้ปฏิบัติงาน
7 สนับสนุนให้เกิด EBD เพื่อลดความขัดแย้งในกระบวนการตัดสินใจที่ยึดความเชื่อส่วนตัวและนำไปสู่การพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
8 สนับสนุนการพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารเพื่อการตัดสินใจ
1 เป็นจุดเริ่มต้นในการค้นหาหัวข้อการวิจัย
ประโยชน์ของการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย
2 เป็นตัวแบบในการปฏิบัติงานและพัฒนางานสู่การวิจัยได้
3 สามารถนำไปสู่ดัชนีชี้วัดการทำงานได้
1 ช่วยในการแก้ไขปัญหาในการปฏิบัติงาน
4 เป็นผลงานเสนอผู้บริหารในการเลื่อนตำแหน่งหน้าที่การงาน
5 เป็นเครื่องมือในการพัฒนาองค์กรสู่ความเป็นเลิศ
องค์ประกอบที่สำคัญของการพัฒนางานสู่การวิจัย
ผู้วิจัย
ผลลัพธ์ของงานวิจัย
โจทย์วิจัย
การนำผลการวิจัยไปใช้
1.3 กระบวนการวิจัยเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
1.3.2 การดำเนินการวิจัยเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
1 การสร้างเครื่องมือวิจัย เป็นขั้นตอนดังนี้
3 ร่างแบบสอบถาม
4 ตรวจสอบเพื่อแก้ไขปรับปรุง
2 กำหนดรูปแบบของคำถามที่จะใช้
2.1 คำถามแบบเปิด
2.2 คำถามแบบปิด
5 จัดทำบรรณาธิการ
1 กำหนดข้อมูลที่ต้องการ
1.2 คำถามเกี่ยวกับความรู้
1.3 คำถามที่เป็นข้อคิดเห็นและทัศนคติ
1.1 คำถามเกี่ยวกับข้อเท็จจริง
6 ทดลองใช้
การกำหนดประชากรและกลุ่มตัวอย่างประชากรในการวิจัย หมายถึง คนสัตว์สิ่งของข้อมูลตัวเลขที่มีคุณสมบัติตรงตามวัตถุประสงค์ของผู้วิจัย
กลุ่มตัวอย่าง หมายถึง ประชากรบางส่วนที่ผู้วิจัยเลือกมาเป็นตัวแทนของประชากรทั้งหมดกลุ่มตัวอย่างที่ดี
1 สอดคล้องครอบคลุมลักษณะประชากรทุกประการ โดยกลุ่มตัวอย่างจะต้องเลือกมาจากประชากรโดยไม่ลำเอียงด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่าง
2 มีขนาดพอเหมาะเพื่อผลที่ได้จะสามารถอ้างอิงไปสู่ประชากรอย่างเชื่อถือได้
การสุ่มตัวอย่าง
โดยใช้ความน่าจะเป็น
2 อย่างแบบมีระบบ
3 อย่างแบบชั้นภูมิ
1 การสุ่มตัวอย่างแบบง่าย
4 อย่างแบบหลายชั้น
แบบการสุ่มโดยไม่ใช้ความน่าจะเป็น
2 ตามโควตา
3 แบบพบโดยบังเอิญ
1 การสุ่มตัวอย่างตามวัตถุประสงค์
การกำหนดขนาดตัวอย่าง นิยมใช้ 2 วิธี
1 ใช้สูตรในการคำนวณหาขนาดของกลุ่มตัวอย่างซึ่งมีอยู่หลากหลายวิธี
2 ใช้ตารางสำเร็จเมื่อทราบจำนวนประชากรและความคลาดเคลื่อนในระดับที่กำหนด
การเก็บรวบรวมข้อมูลการวิจัย
การเตรียมงานสนาม สิ่งสำคัญได้แก่
1 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
2 ช่วงเวลาที่เก็บรวบรวมข้อมูล
3 การเตรียมอุปกรณ์
4 การติดต่อบุคคลที่เกี่ยวข้อง
การคัดเลือกผู้ปฏิบัติงาน
การฝึกอบรมผู้ปฏิบัติงานสนาม
1.3.3 การรายงานและนำผลการวิจัยไปใช้เพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
1 การเสนอผลการวิจัย นำเสนอใน 4 ลักษณะคือ
1.3 การเสนอแบบตาราง
1.4 การเสนอด้วยรูปภาพ
1.2 การเสนอแบบบรรยายกึ่งตาราง
1.1 การเสนอด้วยบทความหรือแบบบรรยาย
2 การอภิปรายผลการวิจัย
3 การสรุปและเสนอแนะ
3.1 สรุปผลการวิจัย
3.2 ข้อเสนอแนะ
4 การเขียนบทคัดย่อ ประกอบด้วยส่วนสำคัญได้แก่
2 วิธีการวิจัย
3 สรุปผลการวิจัยอาจมีหรือไม่มีข้อเสนอแนะก็ได้
1 วัตถุประสงค์ของการวิจัย
1.3.1 การเตรียมการวิจัยเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การกำหนดวัตถุประสงค์ของการวิจัย มีประโยชน์
2 ทำให้ผู้วิจัยทราบว่าจะต้องเก็บข้อมูลที่สำคัญในเรื่องอะไรบ้าง
3 ทำให้ผู้อ่านรายงานผลการวิจัยสามารถติดตามและประเมินผลของการวิจัยได้
1 ทำให้ผู้วิจัยเกิดความชัดเจนว่าต้องการศึกษาอะไรบ้าง
การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง เป็นการศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลเพื่อสนับสนุนสิ่งที่นักวิจัยต้องการศึกษา การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องเป็นส่วนที่สามารถดำเนินการได้ในทุกขั้นตอนไม่ว่าก่อนกำหนดปัญหาหรือเมื่อมีปัญหาการวิจัยแล้วจนกระทั่งเมื่อวิเคราะห์ข้อมูลและได้ผลการศึกษาแล้วก็ยังมีการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องเพื่อยืนยันหรือเปรียบเทียบผล
1 การกำหนดปัญหาโจทย์หัวข้อวิจัย มีการกำหนดปัญหาการวิจัยมีประเด็นต่างประเด็นที่ต้องพิจารณา
2 แนวทางในการกำหนดปัญหาการวิจัย
3 การกำหนดหัวข้อการวิจัยชื่อเรื่องการวิจัยและประเด็นสำหรับการวิจัย
1 แหล่งที่มาของปัญหาการวิจัย
การกำหนดตัวแปรและสมมติฐานการวิจัย
1 ตัวแปร
2 สมมุติฐาน
2.1 สมมติฐานการวิจัย
2.2 สมมติฐานทางสถิติ มีสมมติฐานหลัก สมมติฐานทางเลือก
การกำหนดกรอบแนวคิดการวิจัย framework
การออกแบบการวิจัยเพื่อส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรการออกแบบการวิจัย Research Design หมายถึงการกำหนดแผนโครงสร้างและกลยุทธ์ที่จะใช้ในการศึกษาวิจัยเพื่อให้ได้มาซึ่งคำตอบ
1.3.4 การจัดทำโครงการวิจัยเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ประกอบด้วยส่วนต่างๆได้แก่
7 ขอบเขตการวิจัย
8 นิยามศัพท์
6 สมมติฐานการวิจัย
9 ระเบียบวิธีวิจัย
5 การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
10 ระยะเวลาการดำเนินการวิจัย
4 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
11 แผนการดำเนินการ
3 วัตถุประสงค์ของการวิจัย
12 สถานที่ทำการวิจัย
13 ทรัพยากรและงบประมาณที่ต้องการ
2 ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
14 ผลสำเร็จและความคุ้มค่าของการวิจัยที่คาดว่าจะได้รับ
1 ชื่อเรื่องที่จะวิจัย
15 ประวัติคณะวิจัย
การเขียนโครงการวิจัยที่ดี
2 เนื้อหาโครงการวิจัย
3 การนำเสนอโครงการวิจัย
1 ชื่อหัวข้อโครงการวิจัย
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
4 ความสมบูรณ์
5 ความกระทัดรัด
3 ความชัดเจน
6 ความสม่ำเสมอ
2 ความมีเหตุผลมั่นคง
7 ความสัมพันธ์เชื่อมโยง
1 ความแม่นยำ
แนวทางการประเมินโครงการวิจัย
3 ความครบถ้วนสมบูรณ์
4 ความสามารถในการดำเนินการวิจัย
2 ความชัดเจนความต่อเนื่องและความกระชับ
5 ความมีประสิทธิภาพของการดำเนินการวิจัย
1 การตอบสนองความต้องการของแหล่งเงินทุน
ความหมาย
การวิจัย หมายถึง การค้นคว้าหาความรู้ใหม่โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่มีระบบแบบแผนมีจุดมุ่งหมายชัดเจนและมีการรายงานเพื่อนำผลไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์สอดคล้องสถานการณ์ที่เป็นปัจจุบัน
การวิจัยเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร หมายถึง การศึกษาค้นคว้าในมิติต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรทั้งองค์ความรู้กลุ่มเป้าหมายกระบวนการในการผลิตและการถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อนำผลไปใช้ในการนำการเปลี่ยนแปลงให้เกิด การเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น
ประเภทของการวิจัย
1 จำแนกตามประโยชน์
1.2 การวิจัยประยุกต์ applied Research
1.3 การวิจัยเชิงปฏิบัติการ Action Research
1.1 การวิจัยบริสุทธิ์เพียว Research หรือ basic Research
2 พิจารณาจากลักษณะของข้อมูล
2.1 เชิงปริมาณ quantitative Research
2.2 เชิงคุณภาพ qualitative Research
3 พิจารณาจากระดับของการศึกษาตัวแปร
3.1 การวิจัยเพื่อการสำรวจ exploratory study
3.2 การวิจัยเพื่อตรวจสอบสมมติฐาน hypothesis testing study
4 พิจารณาจากชนิดของข้อมูล
4.1 เชิงประจักษ์ Empress Empress
4.2 เชิงไม่ประจักษ์ nautical Research
5 พิจารณาจากลักษณะการศึกษาตัวแปร
5.2 การศึกษาย้อนหลังในสิ่งที่เกิดขึ้นแล้ว instacollage
5.3 เชิงทดลอง experimental Research
5.1 เชิงสำรวจ service Survey Research
6 พิจารณาจากระเบียบการวิจัย
6.2 วิจัยเชิงพรรณนา descriptive Research
6.3 วิจัยเชิงทดลอง experimental Research
6.1 วิจัยเชิงประวัติศาสตร์ historical Research
ประเภทงานวิจัยทางส่งเสริมและพัมนาการเกษตร
2 การวิจัยเชิงคุณภาพ
3 การวิจัยเชิงผสมผสาน
1 การวิจัยเชิงปริมาณ
4 การวิจัยเชิงประเมิน
ความสำคัญของการวิจัยเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
2 ความสำคัญต่อนักส่งเสริม
3 ความสำคัญต่อการพัฒนาช่องทางการติดการสื่อสารเพื่อให้เกิดการเรียนรู้
4 ความสำคัญต่อการพัฒนาองค์ความรู้
1 ความสำคัญต่อบุคคลหรือกลุ่มเป้าหมาย
5 ความสำคัญต่องานด้านการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
6 ความสำคัญต่อการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ลักษณะการวิจัยเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
2 การวิจัยเชิงศึกษาเฉพาะกรณี
3 การวิจัยเชิงปฏิบัติการ
1 การวิจัยเชิงสำรวจ
4 การพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย Routine to Research
1.1 ความหมายความสำคัญและประเภทของการวิจัยเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร