Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
จิตวิทยาการเรียนรู้ Learning Psychology, นางสาวกฤษณา มีมาก รหัสนักศึกษา…
จิตวิทยาการเรียนรู้
Learning Psychology
ทฤษฎีการเรียนรู้
กลุ่มพฤติกรรมนิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิก (Ivan Pavlov)
ขั้นที่ 1 ขั้นก่อนวางเงื่อนไข
US
= สิ่งเร้าที่มีอยู่แล้วตามธรรมชาติ ไม่เป็นเงื่อนไขให้เกิดการเปลี่ยนแลปลง
UCR
= การตอบสนองที่เป็นไปตามธรรมชาติ ไม่ได้เกิดจากการวางเงื่อนไข
CS
= สิ่งเร้าที่เป็นเงื่อนไข ปกติแลล้วไม่ก่อให้เกิดปฏิกิริยาหรือพฤติกรรมใด ๆ
ขั้นที่ 2 ขั้นวางเงื่อนไข
CS + US =UCR
ขั้นที่ 3 ขั้นการเรียนรู้จากการวางเงื่อนไข
CS = สิ่งเร้าที่เป็นเงื่อนไข เป็น Sign(สัญลักษณ์) ของบางสิ่งบางอย่าง
CR = การตอบสนองที่เกิดจากการถูกวางเงื่อนไขให้เป็น
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเรียนรู้
CS ต้องเด่นชัดในช่วงแรก ๆ (เสียงดัง ตีเจ็บ รสชาติอร่อยมาก)
CS และ UCS ต้องมาตามลำดับกันในระยะเวลาที่ต่อเนื่อง
CS และ UCS ต้องเกิดขึ้นซ ้า ๆ
กฎ 4 ข้อที่ค้นพบจากการทดลอง
Extinction
กฎการดับสูญพฤติกรรมที่ได้รับแต่สิ่งเร้าที่วางเงื่อนไขเพียงอย่างเดียว หรือความสัมพันธ์ของสิ่งเร้าที่วางเงื่อนไขกับสิ่งเร้าตามธรรมชาติไม่ชัดเจน
Spontaneous
Recovery
กฎการคืนกลับพฤติกรรมที่ดับสูญไปจะฟื้นกลับมาเมื่อได้รับการเสริมแรง
Generalization
กฎความคล้ายคลึงพฤติกรรมอาจเกิดซ้ำในสถานการณ์หรือสถานที่ที่มีสิ่งเร้าหรือสัญลักษณ์คล้ายกัน
Discrimination
กฎการจำแนก เกิดการจำแนกความแตกต่างของสิ่งเร้าให้ชัดเจน สิ่งใดคือสิ่งเร้าที่จะตอบสนอง และสิ่งใดคือสิ่งเร้าที่จะไม่ตอบสนอง
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข
แบบคลาสสิก by Watson
บิดาของจิตวิทยาพฤติกรรมนิยม
การกระทำต่าง ๆ ของมนุษย์เกิดจากอิทธิพลของสิ่งแวดล้อมภายนอก
เป็นการศึกษาพฤติกรรมที่สามารถเห็นได้หรือวัดได้
ข้อสรุปที่เกิดจากการเรียนรู้
พฤติกรรมเป็นสิ่งที่สามารถควบคุมให้เกิดขึ้นได้ โดยการ
ควบคุมสิ่งเร้าที่วางเงื่อนไขให้สัมพันธ์กับสิ่งเร้าตามธรรมชาติ
การเรียนรู้จะคงทนถาวร หากมีการให้สิ่งเร้าที่สัมพันธ์กัน
นั้นควบคู่กันไปอย่างสม่ำเสมอ
เมื่อสามารถทำให้เกิดพฤติกรรมใดๆได้ก็สามารถลดพฤติกรรมนั้นให้หายไปได้
ทฤษฎีการเรียนรู้การวางเงื่อนไขแบบการกระทำ by Skinner
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต 2 แบบ
Respondent Behavior
ปฏิกิริยาสะท้อน (Reflex)สิ่งมีชีวิตไม่สามารถควบคุมตัวเองได้ เช่น การกระพริบตา น้ำลายไหล
Operant Behavior
เลือกที่จะแสดงออกมาเป็นพฤติกรรมที่บุคคลแสดงออกในชีวิตประจำวัน
องค์ประกอบของการเรียนรู้
Antecedents คือ เงื่อนไขนำหรือสิ่งเร้าที่กระตุ้นให้เกิดพฤติกรรม (สิ่งที่ก่อให้เกิดขึ้นก่อน)
Behavior คือ พฤติกรรมที่แสดงออก
Consequences หรือผลกรรม เกิดขึ้นหลังการทำพฤติกรรม เป็นตัวบอกว่าเราจะทำพฤติกรรมนั้นอีกหรือไม่
หลักการและแนวคิด
การจะพิจารณาว่าผู้เรียนเกิดการเรียนรู้หรือไม่ ให้ดูจากแนวโน้มของการเปลี่ยนแปลงการตอบสนอง
การวางเงื่อนไขจะมีผลให้อัตราการตอบสนองเปลี่ยนแปลงหรือไม่ ขึ้นอยู่กับ
“ผลกรรม”ผลลัพธ์” หรือ “สิ่งที่ได้รับหลังจากการการกระทำนั้น
Skinner สรุปไว้ว่าอัตราการเกิดพฤติกรรมหรือการตอบสนองขึ้นอยู่กับผล
ของการกระทำ ได้แก่ การเสริมแรง หรือการลงโทษ ทั้งทางบวกและทางลบ
ปัจจัยที่มีผลต่อการเสริมแรง
Timing การเสริมแรงต้องทำทันที
Magnitude & Appeal การเสริมแรงต้องตอบสนองความต้องการอย่างพอเหมาะ อย่ามากไปหรือน้อยไป
Consistencyการเสริมแรงต้องให้สม่ำเสมอ
ลักษณะของตัวเสริมแรง
Material Reinforcers ตัวเสริมแรงที่เป็นวัตถุสิ่งของ
Social Reinforcers ตัวเสริมแรงที่เกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ ซึ่งเป็นสิ่งที่ทุกคนต้องการ เนื่องจากมนุษย์เป็นสัตว์สังคม
1) Verbal เป็นคำพูด เช่น การชม (ต้องชมพฤติกรรมที่แสดงออก ไม่ใช่บุคลิกภาพหรือตัวตน)
Nonverbal ภาษากาย เช่น กอด
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
Edward L.Thorndike
หลักเกณฑ์และลำดับขั้นที่จะนำไปสู่การเรียนรู้
มีสถานการณ์ที่เป็นปัญหาเป็น Stimulus ให้บุคคลแสดงResponse หรือ Behavior
มีการตอบสนองแบบลองผิดลองถูกบุคคลแสดง Response หลายๆอย่างเพื่อแก้ปัญหาที่พบ
มีการแยกการตอบสนองที่ทำให้เกิดความพึงพอใจและไม่ทำให้เกิดความพึง พอใจออกจากกัน
ลักษณะสำคัญ ของทฤษฎีความสัมพันธ์ เชื่อมโยงกัน
ลักษณะการเรียนรู ้แบบลองผิดลองถูก (Trial and Error)
กฎการเรียนรู ้ของ Thorndike
การถ่ายโอนการเรียนรู ้ (Transfer of Learning)
กฎการเรียนรู ้ของ Thorndike (กฎหลัก)
Law of Readiness
กฎแห่งความพร้อม
ความพร้อมหรือวุฒิภาวะของผู้เรียนทั้ง ทางร่างกายและจิตใจ รวมทั้ง พื้นฐานและประสบการณ์เดิม ความสนใจ
Law of Exercise
กฎแห่งการฝึกหัด
Law of Use ถ้าได้ทำบ่อย ๆ
ตัว เชื่อมระหว่าง S กับ R จะเข้มแข็งขึ้น
Law of Disuse ถ้าไม่ค่อยได้ทำหรือทำไม่ต่อ เนื่อง ตัวเชื่อมระหว่างS กับ R จะลดลง
Law of Effect
กฎแห่งผล
หากตอบสนอง
แล้วได้รางวัล จะมีผลให้ตัว เชื่อมเข้มแข็งขึ้น
กฎการเรียนรู ้ของ Thorndike (กฎย่อย)
Law of Multiple Response : การตอบสนองมากรูป
ตอบสนองต่อสิ่งเร้าหรือ
สถานการณ์ที่เป็นปัญหานั้นหลายรูปแบบ
Law of Set or Attitude : การตั้งจุดมุ่งหมาย
Law of Assimilation or Analogy : การนำความรู ้เดิมไปใช้แก้ปัญหาใหม่
Law of Set or Associative Shifting : การย้ายความสัมพันธ ์
Law of Partial Activity : การเลือกการตอบสนอง
ทฤษฎีการเรียนรู้
กลุ่มปัญญานิยม
Herbert John สมองมนุษย์มีความคลา้ยคลึงกับการทางานของเครื่อง Computer
ทฤษฎีประมวลสารสนเทศ
แลกเปลี่ยน หรือ เปลี่ยนแปลงความรู้ของผู้เรียน
จัดระเบียบ / เรียบเรียง / รวบรวมความรู้ที่มีเพื่อการเรียกข้อมูลมาใช้ในเวลาที่ต้องการได้
Attention ความใส่ใจ
Knowledge Base พื้นฐานความรู้
Learning Strategies กลยุทธ์การเรียนรู้
Metacognition การรู้คิดของตนเอง
Max Wertheimer ผู้นำทฤษฎีการเรียนรู ้แบบปัญญานิยม กลุ่ม Gestalt
นักจิตวิทยาในกลุ่มที่สำคัญ
Wolfgang Kohler
Kurt Koffka
Kurt Lewin
หลักการเรียนรู้
การรับรู ้ (Perception)
ด้วยอวัยวะทั้ง 5 คือ ตา หู จมูก ลิ้น และผิวหนัง
การหยั่งเห็น (Insight)
เป็นการค้นพบหรือเกิดความเข้าใจในคิดแก้ปัญหาอย่างฉับพลันทันที จากการพิจารณาปัญหาแบบภาพรวมผ่านกระบวนการคิดและสติปัญญาของแต่ละบุคคล
Albert Bandura การเรียนรู ้ของมนุษย์ส่วนมากเป็นการเรียนรู้โดยการสังเกตหรือเลียนแบบ
ทฤษฎีการเรียนรู ้ทางสังคมเชิงพุทธิปัญญา
การเรียนรู ้ทางสังคม ด้วยการรู ้คิดจากการเลียนแบบ มี 2 ขั้นตอน
ขั้นที่ 1 การรับมาซึ่ง การเรียนรู้Acquisition
การรับสิ่งเร้าเข้ามา
ขัันที่ 2 การกระทำ Performance บุคคล Person พฤติกรรมตอบสนองหรือ การส่งออก Output
พฤติกรรมมนุษย์มี 3 ประเภท
พฤติกรรมตอบสนองที่เกิดจากการเรียนรู้ มีการแสดงออกอย่างสม่ำเสมอ
พฤติกรรมที่เรียนรู้แล้ว ไม่เคยแสดงออก
พฤติกรรมที่ไม่เคยแสดงออก เพราะยังไม่เคยเรียนรู้มากก่อน
นางสาวกฤษณา มีมาก
รหัสนักศึกษา 64B44640401