Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบขับถ่ายปัสสาวะ(Urinary system) - Coggle Diagram
ระบบขับถ่ายปัสสาวะ(Urinary system)
ความหมาย
เป็นระบบที่กำจัดของเสียออกจากร่างกายในรูปเเบบของเหลว ที่เรียกว่า น้ำปัสสาวะ
ประกอบไปด้วย ระบบขับถ่ายปัสสาวะส่วนบน (upper urinary tract)เเละระบบขับถ่ายปัสสาวะส่วนล่าง (lower urinary tract)
หน้าที่ของไต
1.กำจัดของเสีย จากการย่อยพวกเนื้อสัตว์ซึ่งเป็นอาหารพวกโปรตีนจะถูกย่อยสลายเป็นยูเรียเเละเเอมโมเนีย
ดูดซึม เเละเก็บสารอาหารที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกายไว้ เช่น น้ำ ฟอสเฟต โปรตีน เเคลเซียม
รักษาสมดุลน้ำเเละเกลือเเร่ในร่างกาย
4.รักษาสมดุมกรดด่างในร่างกาย
ควบคุมความดันโลหิต
เส้นประสาทที่มาเลี้ยงไต
ได้รับสัญญาณประสาทจากระบบซิมพาเทติก
ซึ่งจะทอดออกมาจากไขสันหลังระดับออกส่วนล่าง บริเวณ T9 T10 T11 เเละไขสันหลังระดับเอวตอนบน
เส้นประสาทอะดรีเนอร์จิก จะหลังสารสื่อนอร์อิพิเนฟรินเเละโดปามีนจะทอดยาวไปยังเซลล์กล้ามเนื้อเรียบของเส้นเลือดเเดงใหญ่ interlobar,arcuatec เเละ interbulola arteries เเละยังไปเลี้ยงหลอดไต
การกระตุ้นประสาทซิมพาเทติกยังทำให้หลอดเลือดที่ไปเลี้ยงไตหดตัวทำให้การไหลเวียนเลือดลดลงตามการกระตุ้น
กลไกการขับถ่ายปัสสาวะ (mechanism of micturitiom)
ส่วนประกอบของน้ำปัสสาวะ
-น้ำประมาณ 95% ของปริมาณของน้ำปัสสาวะที่เราขับถ่ายออกมา
-เกลืออนินทรีย์ ได้เเก่ เกลือของไอออนบวก เเละเกลือของไอออนลบ ปริมาณที่ขับถ่ายขึ้นอยู่กับการรับประทานอาหาร
-สารอินทรีย์ที่มีไนโตเจนเป็นองค์ประกอบ เกิดจากการเผาผลาญพลังงาน ยา สารพิษ หรือสารที่ร่างกายไม่ต้องการเเล้วเพื่อขจัดสารพิษตกค้างที่สะสมอยู่ในเลือดออก(Detoxification) ได้เเก่ (urea) (Uricid) (Creatine) (Hippuric acid)
การขับถ่ายปัสสาวะถูกควบคุมทั้งนอกเเละในอำนาจจิตใจ
คนปกติจัมีความรู้สึกอยากถ่ายปัสสาวะถ้ามีการกระตุ้นปลายประสาทที่รับความรู้สึกตึงตัวสมองที่ควบคุมการขับถ่ายปัสสาวะ สามารถควบคุมโดยการเร่งให้ถ่ายปัสสาวะเเม้จะยังไม่ปวดถ่าย หรือยับยั้งโดยการกลั้นปัสสาวะไว้
ถ้าหากระบบประสาทที่ควบคุมอวัยวะเสียไป จะไม่สามารถควบคุมการขับถ่ายปัสสาวะได้ในบางสถานการณ์กลัว ตกใจจะมีผลต่อการทำงานต่อเส้นประสาทขาที่มาเลี้ยงกระเพาะปัสสาวะทำให้มีการหดตัวโดยที่ควบคุมไม่อยู่
อาการเเสดงของโรคระบบขับถ่ายปัสสาวะ
1.ภาวะบวม การบวนเกิดขึ้นได้จากหลายโรค เช่น ภาวะบวมน้ำจากไต
2.ถ่ายปัสสาวะน้อยหรือไม่มีปัสสาวะ
3.ถ่ายปัสสาวะมาก
4.ถ่ายปัสสาวะยาก มักพบอาการถ่ายปัสสสาวะยาก(dysuria)ร่วมกับมีอาการอักเสบของทางเดินปัสสาวะส่วนล่าง
5.กลั้นปัสสาวะไม่ได้ เกิดจากการควบคุมของร่างกายไม่สามารถควบคุมการทำหน้าที่ของกระเพาะปัสสาวะ
กระบวนการสร้างน้ำปัสสาวะ
ไตสร้างน้ำปัสสาวะโดยอาศัยกระบวนการสำคัญ 3 ขั้นตอน
1.กระบวนการกรองที่โกลเมอรูลัส (glomerulur filtation)
2.กระบวนการดูดซึมกลับที่หลอดไต (tubular reabsorption)
3.กระบวนการคัดหลั่งที่หลอดไต (tubular secretion)
ปริมาณเลือดไหลเวียนเข้าสู่ไต
ไตเป็นอวัยวะที่มีเลือดมาเลี้ยงมากเป็นอันดับสองของร่างกายที่รองมาจากตับ เลือดที่ออกมาจากหัวใจทีละประมาณ 5 ลิตร ถูกส่งมาที่ไตร้อยละ 20-23 หรือประมาณ 1-1.2 ลิตรต่อนาที
ไตได้รับเลือดจำนวนมากมาเพื่อกรองเอาของเสียออกให้มากที่สุด เเละจึงเลือกดูดกลับสารที่ร่างกายยังใช้ประโยชน์ได้
กระบวนการขนส่งในหลอดเลือดไต (tubulur transportetion) มี 2 ทางคือ
การดูดซึมกลับ (reabsorption)
การหลั่ง(secretion)
โครงสร้างของหน่วยไต
หน่วยไต เป็นหน่วยทำงานพื้นฐานของไต ไตเเต่ละข้างจะมีหน่วยไตประมาณ 1.2 ล้านหน่วย หน่วยไตเเต่ละหน่วย เเบ่งออกเป็น 2 ส่วน ได้เเก่
1.renal corpusclu ทำหน้าที่กรองที่เข้ามาไต ประกอบด้วย bowman's capsule เเละ glomerulus
2.renal tubuie หลอดไต ประกอบด้วย
หลอดไตส่วนต้น (proximal tubule)
-หลอดไตรูปตัวยู henle's loop) -descending limb
-ascanding limb
-หลอดไตส่วนปลาย (distal tubule)
-ท่อไตส่วนต้น (collecting duct)
โครงสร้างเเละหน้าที่ของไต
ไต มีลักษณะคล้ายรูปถั่ว ฝั่งขวาจะอยู่ต่ำกว่าฝั่งซ้ายเล็กน้อย เมื่อผ่าไตออกจะเเบ่งไตเป็น2ส่วนคือ
เนื้อไตส่วนนอก (renal cortex) ประกอบด้วย หลอดไต renal tubule เเละ gomerulus
เนื้อไตส่วนใน (renal tubulla) ประกอบด้วย กรวยไต (renal pyramid)
การขับปัสสาวะ (micturation)
เป็นการรักษาความสมดุลของของเหลว เกลือเเร่เเละประโยชน์ต่อร่างกาย ซึงเป็นการทำงานร่วมของไตท่อไต การเพาะปะัสสาวะ ท่อปัสสาวะ ระบบประสาทที่อยู่ในอำนาจจิตใจ
โครงสร้างของอวัยวะเหล่านี้มี บทบาท
ในการขับถ่ายปัสสาวะ ดังต่อไปนี้
ท่อไต (ureter)
กระเพาะปัสสาวะ (urinary bladder)
ท่อปัสสาวะ (urethra)
ระบบประสาทที่ควบคุมการถ่ายปัสสาวะ
ระบบพาราชิมพาเทติกจาก S -4 มาตาม pelvicnerve และร่วมไปกับ inferior hypogastric plexus
ระบบประสาทชิมพาเทติก จากไขสันหลังระดับ 1, 2, มาเป็น
(pre-sacral nerve) และแยกแขนงมาตาม hypogastric
ระบบประสาทร่างกายจาก S2- S4 มาตาม Pudendal nerve
ไปบังคับกล้ามเนื้อหูรูดท่องปัสสาวะชั้นนอก
ฮอร์โมนที่ควบคุมการดูดกลับและการหลังสารที่หลอดไต
1.แองชิโอเทนชิน ll
-เพิ่มการดูดซึมกลับของ(NaC) และน้ำ
-เพิ่มความดันโลหิต
2.อัลโดสเตอโรน
-เพิ่มการดูดซึมกลับของ(NaC) และน้ำ
-หลั่งโพแทสเซียมขับออกทางบิสสาวะ
3.Adrenomedullin
-อับน้ำและเกลือออกทางปิสสาวะ
4.Dopamine
-ดูดซึมกลับน้ำและ NaCl ลดลงในหลอดไดส่วน
5.ฮอร์โมนประหยัดน้ำ (ADH)
-ดูดน้ำกลับที่ท่อรวม
-ลดการชับปัสสาวะ
-ขับน้ำและ NACI ออกทางปัสสาวะ จึงลดภาวะน้ำเกินของร่างกาย