Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบการศึกษาไทย นาย ปณัฐพงษ์ ปราโมทย์มุกดา นางสาว กัลยกร ธีระบุตร -…
ระบบการศึกษาไทย
นาย ปณัฐพงษ์ ปราโมทย์มุกดา
นางสาว กัลยกร ธีระบุตร
หลักการจัดการศึกษา
1.เป็นการศึกษาตลอดชีวิตสำหรับประชาชน Education for All (Lifelong Learning)
2.ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา All for Education
3.การพัฒนาสาระและกระบวนการเรียนรู้ให้เป็นไปอย่างต่อเนื่อง
สิทธิทางการศึกษา
1.บุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกันในการรับการศึกษาขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่า 12 ปี
2.บุคคลที่มีความบกพร่องทางด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ สังคม การสื่อสาร การเรียนรู้หรือมีร่างกายพิการหรือทุพพลภาพ
3.บุคคลซึ่งมีความสามารถพิเศษมีสิทธิได้รับการศึกษาด้วยรูปแบบที่เหมาะสม โดยคำนึงถึงตวามสามารถบุคคลนั้น
4.บุคคล ครอบครัว องค์กรชุมชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการและสถาบันสังคมอื่น มีสิทธิในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
5.บิมารดาหรือผู้ปกครองมีสิทธิได้รับประโยชน์ เช่น
การสนับสนุนจากรัฐให้มีความรู้ความสามารถ เงินอุดหนุนจากรัฐสำหรับการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน การลดหย่อนหรือยกเว้นภาษาสำหรับค่าใช้จ่ายการศึกษา
หน้าที่ทางการศึกษา
1.บิดามารดาหรือผู้ปกครองมีหน้าที่จัดให้บุตรหรือบุคคลซึ่งอยู่ในความแลได้รับการศึกษาภาคบังคับ
2.บิดามารดาหรือผู้ปกครองมีหน้าที่จัดให้บัตรหรือบุคคลซึ่งอยู่ในความดุแลได้รับการศึกษานอกกเหนือจากการศึกษาบังคับ ตามความพร้อมของครอบครัว
รูปแบบการศึกษา
การศึกษาในระบบ
เป็นการศึกษาที่กำหนดจุดหมาย วิธีการศึกษา หลักสูตรระยะเวลาของการศึกษา การวัดและประเมินผล ระยะเวลาของการศึกษา ซึ่งเป็นเงื่อนไขสำเร็จการศึกษาที่แน่นอน
การศึกษาขั้นพื้นฐาน ไม่น้อยกว่า 12 ปี
การศึกษาระดับอุดมศึกษา
การศึกษานอกระบบ
เป็นการศึกษาที่มีความยืดหยุ่นในการกำหนดจุดหมายรูปแบบและวิธีการจัดการศึกษา ระยะเวลาของการศึกษา การวัดและประเมินผล ซึ่งเป็นเงื่อนไขสำคัญของการศึกษา
การศึกษาตามอัธยาศัย
เป็นการศึกษาที่ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเองตามความสนใจศุกยภาพ ความพร้อมและโอกาส
ความเป็นมาของระบบการศึกษาไทย
การศึกษาในสมัยปฏิรูปการศึกษา พ.ศ.2412-2474
มีการค้าขายกับตะวันตกมีการเปลี่ยนแปลงการเมืองการปกครองจัดทำแม่บทโครงการศึกษาฉบับแรกพ.ศ.2441
การศึกษาไทยในสมัยโบราณ พ.ศ.1781-2411
ไม่มีโรงเรียน เรียนรู้จากบ้าน สำนักสงฆ์ วัง
การศึกษาสมัยปกครองตามระบอบรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2475-ปัจจุบัน
สิทธิของประชาชนที่ต้องได้รับการศึกษา
โครงการศึกษาถูกเปลี่ยนชื่อเป็นแผนการศึกษาชาติ พ.ศ. 2475
พ.ศ. 2503 เปลี่ยนชื่อโครงการศึกษาเป็นแผนการศึกษาชาติอีกหลายฉบับ
มีแผนการศึกษาฉบับที่ 10
แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579 เพื่อวางกรอบเป้าหมายและทิศทางการศึกษา
การปฏิรูปการศึกษาเกิดจากเจตนารมณ์ของทุกฝ่ายในสังคมไทย ตามรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 เป็นที่มาของพรบ.การศึกษาแห่งชาติ ฉบับที่ 3มุ่งหวังยกระดับการศึกษาของชาติให้ได้มาตรฐานและมีคุณภาพ
คำนิยามขององค์ประกอบในระบบการศึกษาไทย
ตามนิยามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ ฉบับที่ 4 พ.ศ. 2562
การศึกษาขั้นพื้นฐาน
การศึกษาก่อนระดับอุดมศึกษา
การศึกษาตลอดชีวิต
ผสมระหว่างการศึกษาในระบบ + นอกระบบ+ การศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตตลอดชีวิต
การศึกษา
กระบวนการเรียนรู้เพื่อความเจริญงอกงามของบุคคลและสังคมโดยการถ่ายทอดความรู้ การฝึก
สถานศึกษา
สถานศึกษาตั้งแต่ปฐมวัยไปจนถึงมหาวิทยาลัย เป็นรัฐหรือเอกชนที่มีอำนาจหน้าที่หรือมีวัตถุประสงค์ในการศึกษา
สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
สถานศึกษาที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ผู้สอน
ครูและคณาจารย์ในสถานศึกษาระดับต่าง ๆ
ครู
บุคลากรวิชาชีพที่ทำหน้าที่หลักในการสอนในสถานศึกษารัฐและเอกชน
คณาจารย์
บุคลากรวิชาชีพที่ทำหน้าที่หลักในการสอนในสถานศึกษาอุดมศึกษารัฐและเอกชน
ผู้บริหารสถานศึกษา
บุคลากรวิชาชีพที่รับผิดชอบการบริหารสถานศึกษาแต่ละแห่งทั้งของรัฐและเอกชน
ผู้บริหารการศึกษา
บุคลากรวิชาชีพที่รับผิดชอบการบริหารการศึกษานอกสถานศึกษาตั้งแต่ระดับเขตพื้นที่การศึกษาขึ้นไป
บุคลากรทางการศึกษา
ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษา รวมทั้ง
ผู้สนับสนุนการศึกษาซึ่งเป็นผู้ทาหน้าที่ให้บริการ หรือปฏิบัติงานเกี่ยวเนื่องกับการจัดกระบวนการเรียน การสอน การนิเทศ และการบริหารการศึกษาในหน่วยงานการศึกษาต่าง ๆ
การบริหารและการจัดการศึกษาของไทย
กระทรวงหลักในการจัดการศึกษา
กระทรวงหลักศึกษาธิการ
ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มัธยทศึกษา
ประกาศนียบัตร
ประถมศึกษา
ปฐมวัย
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
ระดับอุดมศึกษา (สกอ.)
ปริญญาตรี
ปริญญาโท
ประกาศนียบัตรวิชาชีพขั้นสูง
ปริญญาเอก
กระทรวงและหน่วยงานอิสระที่จัดการศึกษา
1.กระทรวงกลาโหม
2.กระทรวงมหาดไทย
3.กระทรวงดิจัลเพื่อเศรษฐและสังคม
4.กระทรวงคมนาคม
5.กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
6.กระทรวงสาธารณสุข
7.กระทรวงวัฒนธรรม
8.กระทรวงท่องเที่ยวและกีฬา
9.กรุงเทพมหานคร
10.สภากาชาดไทย
11.สำนักเนติบัณฑิตยสภา
ระดับการศึกษา
การศึกษาขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่า 12 ปี
การศึกษาระดับประถมศึกษา เรียน 6 ปี
การศึกษาระดับมัธยมศึกษา
มัธยมต้น 3 ปี
มัธยมปลาย 3 ปี
สามัญศึกษา
อาชีวศึกษา
การศึกษาระดับก่อนประถมศึกษา
เด็กอายุ 3-6 ปี
การศึกษาระดับอุดมศึกษา
ระดับปริญญา
ต่ำกว่าปริญญา
การศึกษาภาคบังคับ
เด็กทุกคนได้รับการศึกษาเป็นเวลา 12 ปี โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย
การศึกษาขั้นพื้นฐาน
โรงเรียน
ศูนย์การเรียน
สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย
ความมุ่งหมายของ "การศึกษา"
1.พัฒนาคนให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้และคุณธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรม
2.มุ่งปลูกจิตสำนึกที่ถูกต้องเกี่ยวกับการเมือง การปกครอง รักษาผลประโยชน์ส่วนรวม
แนวการจัดการศึกษา
ผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด
ผู้เรียนมีความสามารถพัฒนาตนเอง
ส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามสักยภาพ
การศึกษาระดับอุดมศึกษา
สถาบัน
มหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัย
การอาชีวศึกษา
สถานศึกษาของเอกชน
สถานประกอบการ
สถานศึกษาของรัฐ
สถานศึกษากับสถานประกอบการที่มีความร่วมมือระหว่างกัน
การจัดกระบวนการเรียนรู้
จัดการเนื้อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจโดยคำนึงถึงผู้เรียน
จัดการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นได้ทุกเวลาทุกสถานที่ มีการประสานความร่วมมือกับบิดา มารดา ผู้ปกครอง และบุคคลในชุมชนทุกฝ่ายเพื่อร่วมกันพัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพ
การประเมินผู้เรียน
จัดการประเมินผู้เรียน พิจารณาจากพัฒนาการ ความประพฤติ
นำผลการประเมินผู้เรียนมาพิจารณาในการเข้าศึกษาต่อ
หลักสูตร
หลากหลายตามความเหมาะสมของแต่ละระดับ มุ่งพัฒนาคุณภาพชีวิต
สาระที่เป็นวิชาการและวิชาชีพ มุ่งพัฒนาคนให้สมดุลด้านความรู้ความคิด ความดีงาม ความรับผิดชอบทางสังคม
หลักสูตรอุดมศึกษามุ่งพัฒนาวิชาการวิชาชีพขั้นสูง ค้นคว้า วิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้และสังคม
เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
ผู้เรียนมีสิทธิที่จะได้รับการพัฒนาขีดความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกาาในโอกาสแรกที่ทำได้
รัฐต้องส่งเสริมให้มีการวิจัยและพัฒนาการผลิตและพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อศึกษารวมทั้งการติดตาม
มีการระดมทุนเพื่อจัดตั้งกองทุนพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
การศึกษาเฉพาะทาง
จัดการศึกษาเฉพาะตามความต้องการ
ทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษา
ให้มีการระดมทรัพยากรและการลงทุนด้านงบประมาณ
ให้รัฐจัดสรรงบประมาณแผ่นดินให้กับการศึกษา เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศ
ให้มีการตรวจสอบ ติดตามและประเมินประสิทธิภาพ ประสิทธิผลการใช้งบประมาณการจัดการศึกษาให้สอดคล้องกับหลักการศึกษา