Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผู้หญิงไทยอายุ 44 ปี น้ำหนัก 98 ส่วนสูง 160 เซนติเมตร BMI: 38.23 =…
ผู้หญิงไทยอายุ 44 ปี น้ำหนัก 98
ส่วนสูง 160 เซนติเมตร
BMI
: 38.23 = อ้วนระดับที่ 3
อาการสำคัญ ( CC ) :
มีก้อนโตที่คอ แพทย์นัดทำผ่าตัดก้อนที่คอด้านซ้าย
ประวัติการเจ็บป่วยปัจจุบัน ( PI ):
-1 ปีก่อนคลำพบก้อนด้านซ้ายโต ไปรักษาโรงพยาบาลบ้านนาสาร
แพทย์บอกเป็นก้อนที่ต่อมไทรอยด์ รับประทานยาต่อเนื่อง
-1 เดือนก่อนมา รพ. ก้อนที่คอด้านซ้ายโต แพทย์โรงพยาบาลบ้านนาสาร
แนะนำให้มาผ่าตัดที่ รพ..สุราษฏร์ธานี แพทย์นัดผ่าตัด
-3 ชม. ก่อนมา รพ. มาตามแพทย์นัดเพื่อทำผ่าตัดก้อนที่คอด้านซาย
5 ก.ค.64 แรกรัก ณ หอผู้ป่วยตา หู คอ จมูก
ผู้ป่วยรู้สึกตัวดี มีก้อนโตที่ีคอด้านซ้าย คลำได้ประมาณ 3 ซม. ก้อนขยับได้เมื่อผู้ป่วยกลืนน้ำลาย
vital signs :
140/82 mmHg PR 86/min RR 22/min temp 37.0 C
Dx: Left Thyroid nodule
หน้าที่ของ Throid gland
ควบคุมการเผาผลาญพลังงานของร่างกายและอุณหภูมิของร่างกาย มีผลต่อการทำงานในอวัยวะต่างๆ โดยมีผลต่อสมองและหัวใจมากที่สุด
สร้างฮอร์โมนที่สำคัญคือ
Tetraiodothyronine (thyroxin หรือ T4) และ Triiodothyronine (T3)
ควบคุมโดยสมองส่วน
Hypothlamus
และ ต่อมใต้สมองส่วนหน้า
(Anterior Pituitary gland)
โดย Thyroid stimulating hormone (TSH)
ควบคุมการทำงานของต่อมไรอยด์และการหลั่งน้ำนม
พยาธิสภาพ
ผู้ป่วยมีก้อนโตที่ีคอด้านซ้าย
โรคก้อนของต่อมไทรอยด์(Nodular thyroid diseases)
multiple nodular goiter.
ต่อมทำงานมากเกินไปเนื่องจากขาดไอโอดีนที่ใช้สร้างไทรอยด์ฮอร์โมน
Thyroid stimulating hormone (TSH) ที่ได้จากต่อมใต้สมองผิดปกติ
TSH กระตุ้นต่อมให้สร้างฮอร์โมน (thyroxine,T4) และ (Triiodothyronine, T3) ไม่ได้
2 more items...
solitary thyroid nodules
Operation
Left Thyroid Lobectomy
:star:
Pre Operative nursing diagnosis
ข้อวินิจฉัยข้อที่ 1
พร่องความรู้ในการปฏิบัติตัวก่อนการผ่าตัด
กิจกรรมการพยาบาล
1.check vital sign เพื่อประมินกาการและให้การพยาบาลได้อย่างเหมาะสม
2.ให้ผู้ป่วย NPO ก่อนผ่าตัด 6-8 ชม. เพื่อป้องกันการสำลักขณะได้รับยาระงับความรู้สึก
3.ดูแลให้สารน้ำ 5% DN/2 1000 ml rate 80 cc/hr. ตามแผนการรักษา เพื่อทดแทนสารน้ำจากการ NPO
4.ดูแลให้รับ Lorazepam (0.5 mg) 1 tab O hs.ตามแผนการรักษา เพื่อคลายความวิตกกังวลและรักษาอาการนอนไม่หลับ
อธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจถึงความจำเป็นในการผ่าตัด เพื่อเพิ่มความมั่นใจกับผู้ป่วย
เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยระบายความรู้สึกต่าง ๆ และซักถามข้อสงสัย โดยพยาบาลเป็นผู้ฟังที่ดี
สอนการประเมินอาการปวด โดยใช้มาตรวัดปวดแบบตัวเลข (Numeric Rating Scale: NRS)
สอนผู้ป่วยเกี่ยวกับการหายใจ (Deep Breathing)
สอนการไออย่างมีประสิทธิภาพ (Effective cough)
ติดตามผลแลป CBC BUN Cr BS THS T3,T4 CXR EKG 12 Lead
แนะนำให้ผู้ป่วยดูแลรักษาความสะอาดของร่างกายและปากฟันให้เรียบร้อย เพื่อกำจัดแบคทีเรียที่ผิวหนังและช่องปาก
ไม่ใส่เครื่องประดับทุกชนิด และ อุปกรณ์อื่น ๆ เช่น ฟันปลอมชนิดถอดได้ สร้อย แหวน เนื่องจากอาจเกิดอันตรายระหว่างการผ่าตัดจากจี้ไฟฟ้า หรืออาจเกิดการสูญหาย จึงต้องถอดเก็บไว้ที่บ้าน หรือฝากญาติ/ เจ้าหน้าที่หอผู้ป่วย
เซ็นใบอนุญาตยินยอมรับการรักษาโดยการผ่าตัด
เพื่อเคารพสิทธิผู้ป่วยและกฏหมาย
ให้ยา Cefazolin 1 gm. to OR ตามแผนการรักษาเพิ่อป้องกันการอักเสบพติดเชื้อก่อนผ่าตัด 30 นาที
มีผลการตรวจ Covid-19 Negative
ข้อมูลสนับสนุ
O;- ผู้ป่วยจะได้รับการผ่าตัด Left thyroid lobectomy -มีก้อนโตที่คอด้านซ้าย 3 ซม
Post operative nursing diagnosis
Day 0
ข้อวินิจฉัยข้อที่ 1
เสี่ยงต่อภาวะเเทรกซ้อนจากการผ่าตัดและการได้รับยาระงับความรู้สึกทั่วไป
ข้อมูลสนับสนุน
O ;
-ผู้ป่วยเรียกตื่น ทำตามคำสั่งได้
-มีแผลผ่าตัดที่คอ ปิด seal ไว้
-On radivac drain 1 สาย
-มี Content สีแดง 5 ml.
-อาเจียนเป็นน้ำย่อยสีขาวใส
กิจกรรมการพยาบาล
สังเกตอาการแทรกซ้อนจากการได้รับยาระงับความรู้สึก ได้แก่ คลื่นไส้อาเจียน Hypoxemia โดยทำการ วัดO2 sat ถ้าน้อยกว่า 90% ให้รายงานเเพทย์เพื่อป้องกันอาการแทรกซ้อนที่อาจทำให้เกิดอันตรายกับผู้ป่วย ได้แก่ การสำลักอาเจียนเข้าไปในปอด
1.ดูแลวัด Vital sign ได้แก่ BP, RR, PR, O2 sat ทุก 15 นาที 4 ครั้ง ทุก 30 นาที 2 ครั้ง และทุก 1 ชั่วโมง จนกว่า Vital sign จะอยู่ในเกณฑ์ปกติ เนื่องจากการผ่าตัดทำให้มีการสูญเสียเลือด ส่งผลให้การไหลเวียนเลือดผิดปกติ ชีพจรเต้นช้า
2.ประเมิน gasglow coma score เพื่อติดตามระดับความรู้สึกตัวหลังผ่าตัด
4.ดูแลให้ได้รับยา Plasil (10 mg) 1 amp prn for N/V q 8 hr เพื่อแก้คลื่นใส้อาเจียน
5.ให้ผู้ป่วยบริหารการหายใจ (deep breathing) โดยการหายใจเข้าทางจมูกช้าๆ จนหน้าท้องตึงและหายใจออกทางปาก และให้สูดหายใจเข้าทางจมูกจนรู้สึกว่าหน้าอกขยาย หรือท้องโป่ง ระวังอย่าให้ผู้ป่วยสำลัก อาเจียนเข้าไปในปอดเนื่องจากการผ่าตัดทำให้เกิดการอุดตันของหลอดลมในบางส่วนของปวดเกิดปอดแฟบ
6.ดูแลยกไม้กั้นเตียงขึ้น เนื่องจากหลังได้รับยาระงับความรู้สึกจากการผ่าตัด ผู้ป่วยอาจยังไม่ค่อยรู้สึกตัวดี สะลึมสะลือ จึงต้องยกไม้กั้นเตียงขึ้นเพื่อป้องกันไม่ให้ผู้ป่วยตกเตียงและเกิดอันตราย
8.ดูแลสาย Radivac drain สาย drain ไม่ถูก clamp และไม่มีการหัก พับ งอ อุดตันพื่อให้ให้เลือด/สารคัดหลั่งไหลสะดวก
7.ตรวจดูแผลผ่าตัดว่ามีเลือดหรือ discharge ไหลซึมออกมา
9.บันทึกสารคัดหลังที่ออกจาก Radivac drain เพื่อติดตามปริมาณสารคัดหลั่งอยู่เสมอ
วัตถุประสงค์
ป้องกันและเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนจากการผ่าตัดและยาระงับความรู้สึก
เกณฑ์การประเมินผล
1.ผู้ป่วยรู้สึกตัวดีหายใจปกติ ถามตอบรู้เรื่อง
2.V/S ปกติ BP120/80 mmHg PR 60-100/min RR 16-24 /min T 36-5-37.5 องศาเซลเซ๊ยส
3.แผลผ่าตัดที่คอ แห้ง
4.สารคัดหลั่งที่ออกจาก Radivac drain มีเลือดออกสีแดงจางๆ เหลือ 3 ml.
5.ไม่มีอาการคลื่นไส้อาเจียน
ข้อวินิจฉัยข้อที่ 2
เกิเภาวะแคลเซียมในเลือดต่ำเนื่องจากขาดเลือดไปเลี้ยงต่อมไทรอยด์จากการผ่าตัด
ข้อมูลสนับสนุน
O;
-ระดับ calcium 6.5 mg/dl
-ผู้ป่วยผ่าตัดต่อมไทรอยด์ข้างซ้าย
วัตถุประสงค์
เพื่อเฝ้าระวังภาวะแคลเซียมในเลือดต่ำจากการผ่าตัด
เกณฑ์การประเมินผล
1.ระดับ Calcium อยู่ในเกณฑ์ปกติ 8.35-10.6 mg/dl
2.ผู้ป่วยไม่มีอาการชาปลายมือปลายเท้า จีบเกร็ง หรือตะคริว
กิจกรรมการพยาบาล
เจาะ Blood calcium และดูแลให้ได้รับ 10% Ca gluconate 1 amp +
D5W 100 ml IV drip นาน 20 นาที V prn tetany พร้อมสังเกตอาการข้างเคียงจากยา เช่น หัวใจหยุดเต้น
2.ดูแลวัด V/S ทุก 4-6 ชั่วโมงพร้อมประเมินปฏิกิริยาของระบบประสาทและกล้ามเนื้อที่แสดงถึงภาวะแคลเซียมต่ำ เช่น ชาตามริมฝีปาก ปลายมือ ปลายเท้าทั้งสองข้าง มือจีบ หรือชักเกร็งเพื่อประเมินอาการ
3.แนะนำรับประทานอาหารที่มีแคลเซียมสูง เช่น โยเกิร์ด ชีส หรือ นมถั่วเหลืองที่มีการเสริมแคลเซียม เพื่อเสริมแคลเซียมในร่างกายให้สมดุล
4.ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิการโดยเฉพาะ ค่า calcium เพื่อประเมินรัดับแคลเซียมในร่างกาย
Day0-1
ข้อวินิจฉัยข้อที่ 1
ไม่สุขสบายเนื่องจากปวดแผลผ่าตัด
ข้อมูลสนับสนุน
S;
-บ่นปวดแผล pain score 7 คะแนน
O;
-หน้านิ่วคิ้วขมวด
On Radivac drain 1 สายมี content 5 ml
มีแผลผ่าตัด Thyroid Lobectomy 4 cm.
วัตถุประสงค์
เพื่อบรรเทาอาการปวดแผลผ่าตัดและสุขสบายมากขึ้น
เกณฑ์การประเมินผล
1.ผู้ป่วยบอกปวดแผลลดลง pain score 3 คะแนน
2.ผู้ป่วยสีหน้าสดชื่น กลืนน้ำลายได้ไม่ปวด
3.ผู้ป่วยนอนหลับพักผ่อนได่เพียงพอ
กิจกรรมการพยาบาล
1.ประเมินความปวดโดยใช้เครื่องมือ Numeric Pain Rating Scale (NRS)
4 more items...
2.ดูแลจัดท่าเพื่อให้ทางเดินหายใจโล่ง....
3.ให้ยา Morphine 3 mg V prn for pain q 4 hr. ตามแผนการรักษาของแพทย์เพื่อระงับความปวด
4.ติดตามอาการข้างเคียงของยา morphine ช่วงเวลาที่ยาออกฤทธิ์สูงสุดประมาณ 20 นาที และเช็ค V/S ทุก 15 นาที รวมถึง O2 sat หากพบอาการผิดปกติดังนี้รายงานแพทย์ทันที เช่น
3 more items...
Day 1
ข้อวินิจฉัยข้อที่1
เสี่ยงต่อภาวะอักเสบติดเชื้อ
วัตถุประสงค์
เพื่อเฝ้าระวังแผลอักเสบติดเชื้อในร่างกายและส่งเสริมการหายของแผล
ข้อมูลสนับสนุน
O;
-มีแผลผ่าตัดที่คอแห้ง
-On radivac drain 1 สาย
-มี Content สีแดง 5 Ml
เกณฑ์การประเมินผล
1.แผลผ่าตัดแห้งดี ไม่มีลักษณะบวม แดง ร้อน
2.สารคัดหลั่งจาก Radivac drain ไม่มีกลิ่นเหม็นหรือลักษณะคล้ายหนอง
กิจกรรมการพยาบาล
ตรวจวัดสัญญาณชีพทุก 4 ชํ่วโมง
หากผู้ป่วยมีไข้มากกว่า 37.5 องศาเซลเซียส ควรเช็ดตัวลดไข้(Tepid sponge) ประมาณ 10-20 นาที หรือตามความเหมาะสม และหลังการเช็ดตัวลดไข้ประมาณ 15 นาทีให้วัดอุณหภูมิผู้ป่วยซ้ำ
ประเมินการติดเชื้อที่แผลผ่าตัด โดยสังเกตลักษณะ บวม แดง รอบๆแผล และสารคัดหลั่งที่ซึมจากแผล
4.ดูแลให้ได้รับยา cefazolin 1 gm V q 6 hr เพื่อลดการอักเสบและฆ่าเชื้อแบคทีเรีย
สังเกตผลข้างเคียงจากยา หากมีอาการคลื่นไส้ อาเจียนมาก เบื่ออาหาร ท้องเสีย ท้องผูก อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ ง่วงซึม ไอ จาม หรือมีน้ำมูก ปากแห้ง ให้รีบรายงานให้แพทย์ทราบ
ดูแลให้ได้รับยา Plasil (10mg) 1 amp v prn for N/V q 8 hr เพื่อลดอาการคลื่นไส้อาเจียน
แนะนำผู้ป่วยดูแลแผล ไม่ให้แผลโดนน้ำ เพราะจะทำให้แผลอับเสบ ติดเชื้อ
แนะนำให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารประเภทโปรตีนและวิตามินซีสูง เช่น ไข่ขาว อกไก่ นม โยเกิร์ตและอาหารที่มีวิตามินซีสูงเช่น มะละกอ ฝรั่ง ส้ม บร็อคโคลี่ เพื่อส่งเสริมการหายของแผลช่วยให้แผลหายเร็วขึ้น
ข้อวินิจฉัยข้อที่ 2
พร่องความรู้เรื่องการดูแลตัวเองหลังผ่าตัดเมื่อกลับบ้าน
ข้อมูลสนับสนุน
S;
ผู้ป่วยบอกว่าไม่ทราบการปฏิบัติตัวหลังผ่าตัด
วัตถุประสงค์
ผู้ป่วยมีความรู้สามารถปฏิบัติตัวหลังผ่าตัดได้อย่างถูกต้อง
เกณฑ์การประเมินผล
1.ผู้ป่วยมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความรู้หลังผ่าตัด
กิจกรรมการพยาบาล
แนะนำผู้ป่วยเรื่องการดูแลแผลไม่ให้สกปรก ไม่ควรให้ถูกน้ำ เพราะจะทำให้แผลเกิดการติดเชื้อได้ง่าย
แนะนำให้ผู้ป่วยสังเกตอาการแสดงของแผลติดเชื้อถ้าพบว่ามีสิ่งคัดหลั่งเป็นหนองหรือน้ำซึมออกมา ร่วมกับมีอาการไข้ บวม แดง ร้อน และกดเจ็บ ตำแหน่งผ่าตัด ให้รีบไปพบแพทย์
ให้ผู้ป่วยในการรับประทานยา Antibiotic หรือยาปฏิชีวนะ ต้องรับประทานยาต่อเนื่องจนหมด ห้ามปรับหรือลดยาเอง และให้ผู้ป่วยสังเกตอาการแทรกซ้อนจากการใช้ยา
เน้นย้ำให้ผู้ป่วยมาตามนัด 7 วันหลังผ่าตัด
แนะนำให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารประเภทโปรตีนและวิตามินซีสูง เช่น ไข่ขาว อกไก่ นม โยเกิร์ตและอาหารที่มีวิตามินซีสูงเช่น มะละกอ ฝรั่ง ส้ม บร็อคโคลี่ เพื่อส่งเสริมการหายของแผลช่วยให้แผลหายเร็วขึ้น