Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Thai female 35 ปี 3 เดือน
G2P1001 Ga37week by u/s
Dx.previous c/s…
Thai female 35 ปี 3 เดือน
G2P1001 Ga37week by u/s
Dx.previous c/s delivery in labor
operation : Low transverse cesarean section with Tubal Resection
12B
ประเมินมารดาหลังคลอด
1.Background
ข้อมูลส่วนบุคคล
มารดาหลังคลอดเตียง 18 อายุ 35 ปี
สัญชาติไทย เชื้อชาติไมย ศาสนาพุทธ
ระดับการศึกษา ม.3 ไม่ได้ประกอบอาชีพ
ไม่มีประวัติการแพ้ยา / อาหาร
น้ำหนักก่อนการตั้งครรภ์ 50 kg ส่วนสูง 160cm
BMI 19.53 normal weight
น้ำหนักขณะตั้งครรภ์ตอนGA35+1week by U/S
52 kg cm ส่วนสูง 160 ซม
BMI 20.31 kg/m2
น้ำหนักตอน GA37 week 67.2 kg ส่วนสูง 160 ซม.
BMI 26.25 kg/m2
อาการสำคัญ
-
-
-
ประวัติการฝากครรภ์
total ANC 1ครั้ง
ครั้งที่ 1 ตอนGA35+1week by U/S
ANC risk :
1.previous C/S
2.elderly pregnancy
3.late ANC
(21/02/65) LAB BS 50 gm = 142 นัดมา OGTT มี plan consult Maternal Fetal Medicine (MFM) แพทย์ที่มีความชำนาญเฉพาะทางด้านเวชศาสตร์มารดาและทารกในครรภ์ วันที่ (04/03/65) แต่ไม่มาตามนัด
Hb : 9.7 mg % Hct : 30.5% Dcip: positive Hiv: neg HBsAG : neg MCV : 71.1
สามี : neg
-
-
2.Body condition
การตรวจร่างกายตามระบบ
ศรีษะ : ทำสีผมสีทอง หนังศรีษะมันเล็กน้อย ไม่มีรังแค
ตา : conjunctiva ไม่ซีด
จมูก : ไม่มีอาการบวมของเยื่อบุ หายใจได้ดีไม่มีอาการหายใจไม่สะดวกหายใจลำบาก
คอ : thyroidไม่โต กดไม่เจ็บ
ทรวงอกและปอด : ทรวงอกสมมาตร อกไม่บุ๋มขณะหายใจ
เต้านมและหัวนม : เต้านมคัดตึง หัวนมไม่สั้น ไม่แบนไม่บุ๋มไม่แตก การไหลของน้ำนมระดับ1 เมื่อบีบมีน้ำน้ำนมไหลออก 1-2หยด
หน้าท้อง : มารดามีแผลผ่าตัดคลอด strise gravidarum เป็นเส้นสีเงิน ไม่พบแผลผ่าตัดบริเวณอื่น
แขนขา : ขยับเคลื่อนไหวตามปกติ ไม่บวมกดบุ๋ม
day 2 : ตื่นดี มีเจ็บแผล pain score 3 คะแนน น้ำนมไหลดี ไม่มีไข้ มดลูกหดรัดตัวดี น้ำคาวปลาสีแดง
day 3: ตื่นดี กินได้ น้ำนมไหลดี no bleeding
pain score 0 คะแนน
4.Breast & Lactation
day 2 (08/03/65)
เต้านม คลำไม่พบก้อน มีอาการคัดตึงเต้านม กดไม่เจ็บ
การไหลของน้ำนมเมื่อบีบจากลานนม อยู่ในระดับ 1
LATCH score = 7คะแนน
day 3 (09/03/65)
เต้านม คลำไม่พบก้อน มีอาการคัดตึงเต้านม กดไม่เจ็บ
การไหลของน้ำนมเมื่อบีบจากลานนม อยู่ในระดับ 1
LATCH score = 7คะแนน
-
-
ระดับ 2 (น้ำนมไหลแล้ว) หมายถึง เมื่อบีบลานนมแล้วไม่มีน้ำนมไหลออกมาตั้งแต่ 3 หยดขึ้นไป แต่น้ำนมไม่ไหลเป็นสาย (ไหลริน)
-
-
6.Bladder
-
day 2 (08/03/65)
ไม่มีปัญหา bladder
voidได้เอง 5 ครั้งเวรเช้า
เวรบ่าย void 4ครั้ง ปัสสาวะไม่แสบขัด
สีเหลืองใส
-
-
8.Bottom
ผู้ป่วยไม่มีแผลฝีเย็บเนื่องจากผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องแบบ Lt C/s
day3(09/03/65)แพทย์มาทำแผลแผลแห้งดีไม่มีdischart
9.bowel & movement
day 2 (08/03/65)
ไม่มีปัญหาท้องอืด ท้องเฟ้อ
stool 1 ครั้ง
เวลา07:15น.จิบน้ำเช้าเที่ยง
IVหมดoff
เวลา 12:30 Liquid diet อาหารเหลว
เที่ยง-เย็น
กระตุ้น ambulate
-
-
-
-
-
-
คำแนะนำ
-
การออกกำลังกาย
ยังไม่สามารถออกกำลังกายหลังผ่าตัดได้ต้องรออย่างน้อย6สัปดาห์ เพราะอาจไปเพิ่มแรงกดดันในช่องท้อง จะทำให้กล้ามเนื้อท้องเหนื่อยล้า และแยกจากกันได้
6สัปดาห์
ออกกำลังกาย~5-10นาทีออกกำลังกายแบบคาดิโอเช่น เดินเร็ว ปั่นจักรยาน ว่ายน้ำก่อนแล้วค่อยเพิ่มเวลาหากไม่มีอาการผิดปกติ
-
อาหาร
หลังคลอด :
เน้นโปรตีน
เพราะโปรตีนมีส่วนช่วยในการสร้างกล้ามเนื้อให้แข็งแรง และซ่อมแซมเนื้อเยื่อที่เสียหายจากการผ่าตัดคลอด
เนื้อสัตว์ ไข่ นม ถั่วเมล็ดแห้ง เต้าหู้
เช่นเมนู ไก่ผัดขิง
ประเภทอาหาร
กระตุ้นน้ำนม : ผัดหัวปลี น้ำขิง กระชาย ตำลึง แกงเห็ดรวม
ลดท้องผูก กระตุ้นน้ำนม : แกงเลียงผักรวม ไก่ผัดขิง ฟักทองผัดไข่
ดื่มน้ำสะอาด6-8แก้ว/วัน งดชากาแฟ แอลกอฮอล์ เพราะสามารถผ่านไปสู่ลูกได้
หลีกเหลี่ยงอาหารหมักดอง
: เพราะ ของหมักดองมีปริมาณโซเดียมหรือเกลือสูง ส่งผลเสียต่อพัฒนาการและการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์
เหลี่ยงอาหารดิบ
: เสี่ยงอันตรายจากการปนเปื้อน พยาธิ และแบคทีเรีย
เลี่ยงอาหารค้างคืน
: อาหารอุ่นร้อนซ้ำ ๆ ลดคุณค่าทางสารอาหาร ทำให้แม่อิ่มแต่ไม่มีประโยชน์ต่อร่างกาย
การดูแลตนเอง
การดูแลเต้านมหลังคลอด
1.สวมใส่เสื้อในที่พอดีกับขนาดของเต้านมที่เปลี่ยนแปลงไป ไม่ใส่แบบคับเพราะอาจไปขัดความการหลั่งของน้ำนมและไม่ใส่แบบหลวมเพราะอาจให้เต้านมหย่อน
2.ห้ามแกะเกาบริเวณเต้านม ให้ใช้น้ำสะอาด/ต้มสุก เช็ดทำความสะอาดบริเวณหัวนม
3.หากเต้านมคัดตึง ให้บริหารนวดเต้านมบีบน้ำนมออกและประคบร้อนเพื่อกระตุ้นการไหลเวียน
** หากเต้านมคัดตึงแล้วไม่ได้เลี้ยงลูกด้วยตนเอง : ไม่นวดบีบกระตุ้นให้ใส่เสื้อในคับๆประคบเย็น
-
-
การเก็บน้ำนม
ระยะเวลาที่เก็บได้
อุณหภูมิห้อง > 25องศา 1ชม.
ช่องแช่แข็งประตูเดียว 2week
2ประตูช่องแช่แข็ง 3 เดือน
ตู้เย็น ช่องธรรมดา 2-3วัน
กระติกน้ำแข็ง 24 ชม.
-
การดูแลบุตร
ส่งเสริมให้บุตรรับประทานนมแม่อย่างเดียวใน6เดือนแรกเพื่อให้ทารกได้รับสารอาหารครบ ภูมิคุ้มกันโรค ลดภูมิแพ้ และส่งผลดีต่อมารดา มดลูกเข้าอู่เร็ว
แนะนำมารดาสังเหตุอาการผิดปกติของบุตร มีไข้ ซึม ไม่ดูดนม ร้องกวน ควรมาพบแพทย์
แนะนำการตรวจติดตามนัด
เน้นย้ำติดตามตรวจตามนัดหลังคลอด ครั้งแรกภายใน1เดือน หรือ4-6Weekเพื่อตรวจดูอวัยวะภายในกลับเข้าสู่สภาวะปกตหรือยัง มีวัดความดัน ชั่งน้ำหนัก ตรวจภายใน ตรวจมะเร็งปากมดลูก
-
การเฝ้าระวังการตกเลือด
ให้มารดาสังเกตุปริมาณ สี กลิ่นของน้ำคาวปลาเพื่อดูภาวะติดเชื้อและการตกเลือดหลังคลอดคือมากกว่าหรือเท่ากับ500ml
หรือเปลี่ยนผ้าอนามัยแผ่นชุ่ม10ผืน/วัน
หรือมีเลือดออก50ml/ทุกhr.
-
-
-
-