Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural Resources), ่, ่, ุ - Coggle Diagram
ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural Resources)
ประเภทของทรัพยากรธรรมชาติ
การจำแนกตามลักษณะการใช้ประโยชน์แบ่งได้เป็น 3 ประเภทย่อยๆ ได้แก่
2.2 ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วสามารถทดแทนได้
2.3 ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วหมดไป
2.1 ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วไม่รู้จักหมดสิ้น
การจำแนกตามชนิดของทรัพยากร
พิจารณาชนิดของทรัพยากรธรรมชาติที่เป็นปัจจัยที่สำคัญ มีประโยชน์โดยตรงต่อความเป็นอยู่ของมนุษย์
ทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญ
ป่าไม้เป็นทรัพยากรธรรมชาติที่มีความสำคัญต่อความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิเวศ
ป่าไม้ในประเทศไทยแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ
1.ป่าไม้ประเภทไม่ผลัดใบ คือ ป่าไม้ที่มีใบเขียวชอุ่มตลอดปี ไม่ทิ้งใบพร้อมกันหมด
2.ป่าไม้ประเภทผลัดใบ คือ ป่าไม้ที่ใบร่วงหล่นพร้อมกันทั้งต้นหรือทั้งป่าในช่วงเวลาอันสั้นในหน้าแล้ง
ประโยชน์ของป่าไม้
เป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่า
ช่วยลดมลพิษทางอากาศ
ป่าไม้เป็นแหล่งปัจจัย 4
ปัจจัยที่ทำให้สภาพป่าไม้มีความแตกต่างกัน
3.ดิน
4.แสงสว่าง
2.อุณหภูมิและความชื้น
5.สภาพภูมิอากาศ
ลักษณะภูมิประเทศ
แร่ธาตุและพลังงาน คือ ธาตุแท้หรือสารบริสุทธิ์ที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ โดยมีส่วนประกอบทางเคมีและมีรูปผลึกที่แน่นอน
ประโยชน์ของแร่ธาตุ
2.ประโยชน์ด้านความเป็นอยู่ของมนุษย์
3.ประโยชน์ด้านการสร้างงานแก่ประชาชน
ประโยชน์ทางด้านความมั่นคงและมั่นคั่งของประเทศ
ปัญหาของแร่ธาตุ
2.ปัญหาการใช้แร่ธาตุบางประเภทเป็นจำนวนมาก
3.ปัญหาการใช้แร่ไม่คุ้มค่า
1.ปัญหาสิ่งแวดล้อมบริเวณที่ทำเหมือง
ประเภทของแร่
2.แร่อโลหะ เช่น หิน ทราย ยิปซัม
3.แร่พลังงาน เช่น ถ่านหิน น้ำมันดิบ
1.แร่โลหะ เช่น เหล็ก อลูมิเนียม ทองแดง
การอนุรักษ์แร่ธาตุ
การสำรวจแหล่งแร่
การใช้แร่ชนิดอื่นทดแทน
การใช้แร่ธาตุอย่างประหยัด
น้ำ เป็นทรัพยากรธรรมชาติที่มีความสำคัญต่อการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตทุกชนิด
ปัญหาเกี่ยวกับน้ำ
2.ปัญหาการเกิดน้ำท่วม
3.ปัญหาเกี่ยวกับคุณภาพของน้ำ
1.ปัญหาการขาดแคลนน้ำ
ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงทรัพยากรน้ำ
2.ผลกระทบต่อการสาธารณสุข
3.ผลกระทบต่อการอุตสาหกรรม
1.ผลกระทบต่อการเกษตรกรรม
แหล่งน้ำที่นำมาใช้ประโยชน์ ได้แก่
2.น้ำผิวดินหรือน้ำท่า
3.น้ำใต้ดิน
1.น้ำฟ้า
4.แหล่งน้ำจากทะเลและมหาสมุทร
สัตว์ป่า คือ สัตว์ทุกชนิดไม่ว่าสัตว์น้ำ สัตว์บก สัตว์ปีก แมลงหรือแมงซึ่งโดยสภาพธรรมชาติย่อมเกิดและดำรงชีวิตอยู่ในป่าและในน้ำ
สัตว์ป่าแบ่งเป็น 3ประเภท
2.สัตว์ป่าคุ้มครอง เช่น สัตว์ป่าเลี้ยงลูกด้วยนม
3.สัตว์ป่านอกประเภท สามารถทำการล่าได้ ภายนอกเขตป่าอนุรักษ์
1.สัตว์ป่าสงวน เช่น แรด กระซู่ สมเสร็จ
ประโยชน์ของสัตว์ป่า
ด้านอาหาร
เครื่องใช้เครื่องประดับ
ด้านเศรษฐกิจ
สาเหตุการสูญพันธ์ของสัตว์ป่า
การสูญพันธ์จากการล่าโดยตรง
การสูญพันธ์จากการทำลายที่อยู่อาศัย
การสูญพันธ์เป็นไปตามธรรมชาติ
ดิน คือ ส่วนประกอบของเปลือกโลกที่แปรสภาพมาจากหินและแร่ ผสมกับซากสิ่งมีชีวิตและส่วนประกอบอื่นๆ เช่น น้ำ อากาศ
ชั้นดินมี 5 ชั้น คือ
3.ชั้น B ดินชั้นล่าง สะสมแร่ธาตุ
ชั้น C ชั้นหินผุ
5.ชั้น R หินต้นกำเนิด
2.ชั้น A ดินชั้นบน น้ำซึมผ่าน
1.ชั้น O อินทรยีย์
ความสำคัญของดิน
2.ปัจจัยในการดำรงชีวิตของมนุษย์ ล้วนมีแหล่งกำเนิดมาจากดิน เช่น อาหาร
3.ดินเป็นรากฐานในการสร้างความเจริญมั่นคงทางสังคม ทำให้เกิดวัฒนธรรมและอารยธรรม
1.ดินเป็นตัวกลางที่ทำให้น้ำ แสงแดด และอากาศช่วยกันสร้างพืชพรรณทุกชนิดให้เจริญงอกงาม
ส่วนประกอบของดินมี 4 ชนิด คือ
2.สารอนินทรีย์
3.น้ำ
1.สารอินทรีย์
4.อากาศ
ปัญหาทรัพยากรดินมี 3 ปัญหาใหญ่ๆ คือ
2.ดินขาดความอุดมสมบูรณ์
3.มลพิษในดิน
1.การเกิดกษัยการของดิน
หมายถึง สิ่งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและมีประโยชน์สามารถตอบสนองความต้องการของมนุษย์ หรือมนุษย์สามารถนํามาใช้ประโยชน์ได้
ความสำคัญของทรัพยากรธรรมชาติ
ความสำคัญต่อการพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
การตั้งถิ่นฐานและการประกอบอาชีพ
เป็นปัจจัยสำคัญในการรักาาสมดุลธรรมชาติให้คงอยู่อย่างเหมาะสม
ทรัพยากรธรรมชาติเป็นสิ่งจำเป็นต่อการดำรงชีวิต
ผลกระทบของทรัพยากรธรรมชาติ
กิจกรรมทางการเกษตร
กิจกรรมการบริโภคของมนุษย์
กิจกรรมทางด้านอุตสาหกรรม
สาเหตุที่มนุษย์ทำลายทรัพยากรธรรมชาติ
2.พฤติกรรมการบริโภค
3.ความโลภของมนุษย์
1.การเพิ่มของประชากร
4.ความไม่รู้
การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
หมายถึง การรู้จักใช้ทรัพยากรธรรมชาติให้เป็นประโยชน์ต่อมหาชนมากที่สุด และใช้ได้เป็ นระยะเวลานานมากที่สุด
หลักในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติมี 3 ประการ ดังนี้
1.ต้องใช้ทรพยากรอย่างฉลาด
2.ประหยัดของที่หายาก
3.หาวิธีฟื้นฟูสิ่งแวดล้อมที่ไม่ดีหรือเสื่อมโทรมให้ดีขึ้น
การสูญเปล่า
หมายถึง การถูกทำลายไปโดยไม่จำเป็น หรือการสูญเสียไปโดยไม่ได้รับประโยชน์ที่คุ้มค่า แบ่งเป็น 4 ประเภท ได้แก่
3.การสูญเปล่าแบบไม่ได้สัดส่วนหรือแบบสัมพัทธ์ เช่น การทำเหมืองแร่ก่อให้เกิดตะกอนขุ่นข้น
4.การสูญเปล่าแบบจงใจ เช่น การทำลายคลังเก็บน้ำมันดิบ
2.การสูญเปล่าแบบซ้ำเติมหรือสมทบ เช่น ไฟป่าที่ทำลายต้นไม้ในป่าและทำลายถิ่นอาศัยของสัตว์ป่า
1.การสูญเปล่าแบบสมบูรณ์ เช่น การพังทลายของดิน เนื่องจากน้ำหรือลม
่
่
ุ