Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Preterm spontaneous Presentation Delivery - Coggle Diagram
Preterm spontaneous Presentation Delivery
การประเมินภาวะสุขภาพมารดาหลังคลอด
ประเมินตามหลัก 13 B
1.1.Background (ภูมิหลังของมารดา)
• ข้อมูลส่วนตัว : ประกอบอาชีพ พนักงานขายอาศัยอยู่กับสามีและลูก
-มารดาหลังคลอดชาวไทยอายุ 40 ปี
-โรคประจำตัว : ปฎิเสธ
-ประวัติแพ้ยา : ปฎิเสธการแพ้ยา
น้ำหนักก่อนตั้งครรภ์ : 84.4 กิโลกรัม ส่วนสูง 162 เซนติเมตร BMI 32.77 kg/m^2
-น้ำหนักปัจจุบัน กิโลกรัม Totall weight agin
-ประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัว : บิดาหญิงตั้งครรภ์เป็นความดันโลหิตสูง
-ประวัติการแพ้อาหาร : ปฎิเสธ
• ประวัติการตั้งครรภ์และการคลอด :
-G1 ( ปี2542) Normal Labor Full term เพศชาย 3,540 gm.
-G2(ปี552) Spontaneous abortion 2 months
-G3 (ปี2559) Normal Labor Full term เพศชาย 3,670 gm.
-G4 (ปี2560) Spontaneous abortion 2 month
-G5P2A2 GA 36+5 by date
-LMP 21 มิถุนายน 2564
-EDC 28 มีนาคม 2565
• อาการสำคัญ : 5 hr. ก่อนมารพ มีอาการเจ็บท้อง ท้องแข็งเป็นระยะใน 1 hr. ประมาณ3-4 ครั้งครั้งละประมาณ 1 นาที, 1hr.ก่อนมารพ (11.30น.) มีน้ำไหลออกมาไม่แน่ใจเรื่องสีและกลิ่นแต่มีค่อนข้างมาก ไม่มีมูกเลือด
• ประวัติการเจ็บป่วยปัจจุบัน : น้ำเดิน 1 hr ก่อนมารพ.
• ประวัติการเจ็บในอดีต : Total ANC 4 ครั้งที่โรงพยาบาลตำรวจ ครั้งแรก 24+4 wks by date
ANC risks : Grand multiparty ,Obesity (BMI 32.77 ) ,Elderly pregnancy
การผ่าตัด :ผ่าตัดใส่เหล็ก ข้อเท้าด้านขวา
2.Body condition (การประเมินร่างกาย)
Day 0 (05/03/65) ผู้ป่วยรู้สึกตัวดี พูดคุยรู้เรื่องใจ Room Air ตามConjunctiva ไม่ซีด ไม่มีอกาารคัดตึงเต้านม
ไม่ได้ตัดแผลฝีเย็บ Tear ระดับ 1 แผลไม่มี bleeding ซึม
น้ำคาวปลาสีแดงสด Voice เองได้ ขาไม่กดบุ๋ม
Day 1 (06/03/65) ผู้ป่วยรู้สึกตัวดี พูดคุยรู้เรื่อง หายใจ Room Air ตา Conjunctiva ไม่ซีด ไม่มีอาการคัดตึงเต้านม Tear ระดับ 1 แผลไม่มี bleeding ซึม ไม่บวมแดงน้ำคาวปลาสีแดงสด ขากดไม่บุ๋ม ยังไม่ถ่ายอุจจาระ ไม่มีอาการท้องอืด หน้าท้องไม่โป่งพอง
Body temperature & blood pressure
Day 0 (05/03/65)
Body temperature = 36.5 องศาเซลเซียส
Pulse : 74 bmp.
Blood pressure Rate : 18 bmp.
Oxygen saturation: 99%
PS = 5
Day 1 (06/03/65)
Body temperature = 36 องศาเซลเซียสล
Pulse =78 bmp.
Respiratory Rate = 18
Blood pressure = 110/80
PS = 1
4.Brest&lactation
Day 0 (05/02/65) เต้านม ลานมนิ่ม ไม่มีอาการคัดตึงเต้านม น้ำนมไม่ไหล
Day 1 (06/02/65) เต้านม ลานนมนิ่ม ไม่มีอาการคัดตึงเต้านม น้ำนมไหล+1 (1-2หยด)
5.Belly & Uterus
Day 0 : มดลูกแข็งตัวดี ยอดมดลูกวัดได้ระดับ 5 นิ้ว
Day 1 : มดลูกแข็งตัวดี ยอดมดลูกวัดได้ระดับ 4.5 นิ้ว
6.Bladder
Day 0 (05/03/65) ผู้ป่วยปัสสาวะเองได้ ไม่มีแสบขัด
Day 1 (06/03/65) ผู้ป่วยปัสสาวะเองได้ไม่มีแสบขัด
7.Bleeding&Lochia
Day 0 (05/03/65) น้ำคาวปลา umbra สีแดง 250 cc ใน 24 hr.
Day 1 (06/03/65) น้ำคาวปลาrubric สีแดง เปลื่ยนผ้าอนามัย 2 รอบ รวม 30 cc ใน 1 เวร
8.Bottom ฝีเย็บและทวารหนัก
Day 0 (05/03/65) แผลฝีเย็บไม่บวม ไม่มีเลือดซึม
Day 1 (06/03/65) แผลฝีเย็บไม่บวม ไม่มีhematoma ไม่มี discharge
9.Bowel movement
Day 0 (05/03/65) ผู้ป่วย NPO ยังไม่ได้ขับถ่าย
Day 1 (06/03/65) เริ่ม step diet เริ่มจิบน้ำ เที่ยงอาหารเหลว กระตุ้น ambulate ผู้ป่วยไม่มีอาการท้องอืด ท้องโป่งพอง และยังไม่ได้ขับถ่าย
10.Blues
Day 0 (05/03/65)
มารดาดูแลทารกอย่างใกล้ชิด มีการปรับตัวในการให้นมทารก
Day 1 (06/03/65)
มารดาดูแลทารกอย่างใกล้ชิด ทะนุถนอม มีการปรับตัวกับทารกในการดูแลและการให้นมทารก
11.baby
-ทารกเพศชาย คลอดวันที่5 มีนาคม 2565 เวลา 14.06 น. น้ำหนัก 2,850 gm. ยาว 49 เซนติเมตร APGAR Sopcore 9 10 10 หักคะแนนสีผิว problem at birth cord พันคอ 2 รอบ
ทารกpreterm
12.Bonding & Attachment
มารดาหลังคลอดมีปฎิสัมพันธ์กับทารกดี มีการสัมผัส อุ้มกอด จูบ ประสานตา
Belief model
-มารดาเลี้ยงลูกด้วยตนเองและเลี้ยงลูกด้วยน้ำนมตนเองจนครบ 6 เดือน เชื่อว่ามดลูกจะหดลงไปเองหลังจาก14วัน
มารดาไม่ต้องการมีบัตรเพิ่มโดยจะทำการคุมกำเนิดโดยการทำหมัน
ตรวจร่างกายตามระบบ Head to toe
ผม : ดำยาวไม่มีรังแค ไม่แห้ง
ตา : บริเวณ Conjuctiva สีแดง ไม่ซีด
จมูก : ไม่บวมแดง ไม่มี discharge
ปาก : ชุ่มชื่น ไม่แห้ง ไม่มีฟันผุ
ต่อมไทรอยด์ : ไม่โต คลำไม่พบก้อน
เต้านม : ไม่คัดตึง หัวนมนิ่ม ลานนมนิ่ม
ท้อง : การประเมินระดับยอดมดลูกคลำระดับยอดมดลูกสูงกว่าสะดือเล็กน้อย วัดระดับยอดมดลูกจากขอบบนของรอยต่อกระดูก Symphysis pubis
แขน : ไม่มีกระดูกผิดปกติ ไม่มีอาการบวม
ขา : ขาทั้งสองข้างไม่มีบวมกดบุ๋ม
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
Day 0 (05/03/65)
1.ผู้ป่วยเสี่ยงต่อการเกิดตกเลือดหลังคลอด
ข้อมูลสนับสนุน
-Blood loss 500 cc จากการคลอด
-มารดามีประวัติ Spontaneous abortion
ANC rick Grand multiparity
-มารดาคลอด NL
วัตถุประสงค์
-เพื่อป้องกันไม่ให้ผู้ป่วยเกิดภาวะตกเลือดหลังคลอด
เกณฑ์การประเมินผล
-ปริมาณเลือดไม่มากกว่า 50 ml/hr หรือเสียเลือดไม่เกิน 500 cc/24hr.
-v/s อยู่ในเกณฑ์ปกติคือ T=36.5-37.4 C P=60/100 ครั้ง/นาที RR=12-20 ครั้ง/นาที
BP = 90-140/60-90 mmHg
-ไม่มีอาการแสดงตกเลือดเช่น หน้ามืด เพลีย เวียนศีรษะ
-แผลฝีเย็บไม่มีเลือดออกก ไม่มี Hematoma
-มดลูกหดรัดตัวดี
กิจกรรมการพยาบาล
1.ติดตามปละประเมิน v/s ทุก 4 ชั่วโมงและสังเกตระดับความรู้สึกตัวและอาการผิดปกติเช่น ใจสั่น หน้ามีดตัวเย็นเหงื่อออกชีดเพื่อประเมินการตอบสนองของร่างกายต่อปริมาณเลือดที่ลดลงในระบบไหลเวียนเลือด
2.ตรวจสภาพกระเพาะปัสสาวะ กระตุ้นให้มารดาปัสสาวะ
เพื่อให้กระเพาะปัสสาวะว่าง ไม่ไปขัดขวางการหดรักตัวของมดลูก
3.ตรวจคลึงมดลูก ด้วยท่าที่นุ่มนวลเพื่อกระตุ้นให้กล้ามเนื้อมดลูกรัดตัวของมดลูกเป็นระยะๆเส้นเลือดส่วนปลายเปิดลดการเสียเลือด
4.สังเกตและบันทึกลักษณะปริมาณของเลือดที่ออกทางช่องคลอด
5.ประเมินแผลฝีเย็บตามหลัก REEDA
การประเมินผล
-v/s T=36 PR=112 RR=18 BO= 136/91mmHg
-แผลฝีเย็บปกติดี ไม่มีบวมแดง ไม่มี discharge ซึม ไม่มีbleedซึม ชอบแผลชิตติดกันดี
-นำคาวปลามีสีแดงปกติคล้ายประจำเดือน
-มารดาสามารถทำความสะอาดอวัยวะสิบพันธุ์
-มารดาสามารถทำความสะอาดอวัยวะสิบพันธุ์ได้อย่างถูกวิธี
ข้อที่2 มารดาเสี่ยงต่อภาวะพลัดตกหกล้มเนื่องจากผู้ป่วยมีอาการอ่อนเพลียจากการเสียพลังงานจากการคลอดบุตร
ข้อมูลสนับสนุน
-สูญเสียเลือดขณะคลอดบุตร 500 cc
-มารดามีสีหน้าอ่อนเพลีย
วัตถุประสงค์
-เพื่อป้องกันการพลัดตกหกล้มและลดอาการอ่อนเพลียหลังคลอดบุตร
เกณฑ์การประเมินผล
1.ไม่มีอาการขาดสารน้ำสารอาหาร(Dehydration)
เช่นปากแห้ง ตาแห้ง ปัสสาวะสีเข้ม
2.มารดามีสีหน้าไม่สดชื่น ไม่มีอาการวิงเวียนศีรษะ อาการอ่อนเพลียลดลง
3.นอนหลับพักผ่อนอย่างเพียงพอ
กิจกรรมการพยาบาล
1.ดูแลให้มารดาได้รับการนอนหลับพักผ่อนที่เพียงพอโดยทำหัตถกรรมและการพยาบาลให้พร้อมกันในเวลาเดียวกัน
จัดสิ่งแวดล้อมให้เอื้ออำนวยต่อการพักผ่อน ลดแสงและเสียงที่รบกวน
3.ดูแลให้มารดาได้รับน้ำและอาหารตามแผนการรักษาของแพทย์
ดูแลให้มารดาพักผ่อนบนเตียง ยกไม้กั้นเตียงขึ้น
ปรับเตียงให้ต่ำทุกครั้งหลังให้การพยาบาลเพื่อป้องกันการพลัดตกหกล้ม
5.ช่วยเหลือผู้ป่วยหลังคลอดไม่สามารถทำได้หรือช่วยอำนวยความสะดวก
6.ดูแลและพยุงผู้ป่วยไปเข้าห้องน้ำทุกครั้ง จัดวางสิ่งของให้เป็นระเบียบ
มีแสงสว่างเพียงพอเพื่อป้องกันการพลัดตกหกล้มและจัดของให้ผู้ป่วยสามารถหยิบใช้งานได้สะดวก
การประเมินผล
1.มารดานอนหลับพักผ่อนได้ดีขึ้น
2.มารดามีสีหน้าสดชื่นขึ้น อาการอ่อนเพลียลดลง
3.มารดาไม่มีอาการวิงเวียนหน้ามีด
4.ผู้ป่วยไม่เกิดภาวะพลัดตกหกล้มแพทย์
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลข้อที่ 3 ไม่สุขสบายเนื่องจากปวดมดลูก
ข้อมูลสนับสนุน
-มารดาบอกว่าปวดมดลูกขณะเคลื่อนไหวร่างกาย
-สีหน้าไม่สุขสบาย
-Pain score 5 คะแนน
วัตถุประสงค์
-เพื่อบรรเทาอาการปวดแผลและให้มารดามีภาวะที่สุขสบายมากขึ้น
เกณฑ์การประเมินผล
-มารดาปวดมดลูกน้อยลง หรือคะแนนความปวด Pain score ลดลง <2คะแนน
-มารดามีสีหน้าสดชื่นแจ่มใส และพักผ่อนได้ดีขึ้น
การพยาบาล
1.ประเมินความเจ็บปวดของอาการปวดมดลูก ปวดแผลผีเย็บ
ปวดบริเวณหัวเหน่า ด้วยการสอบถามสังเกตจากสีหน้าท่าทาง
และใช้การประเมินจากตัวเลขบอกระดับความปวด(Pain score)เพื่อเป็นข้อมูลในการช่วยเหลือและเลือกวิธีบรรเทาอาการปวด
2.แนะนำให้นอนในท่าที่สบาย หรือนอนตะแคงด้านข้ายเพื่อบรรเทาความเจ็บปวด หรือจัดให้นอนท่าศีรษะสูงชันเช่าเพื่อให้กล้ามเนื้อหน้าท้องหย่อนตัว ลดการดึงรั้งของแผลช่วยให้อาการปวดทุเลาลงลง
3.แนะนำให้ใช้มือ หรือหมอนประคองหน้าท้องขณะไอ หรือมีการเคลื่อนไหวและแนะนำให้เคลื่อนไหวช้า ๆใช้มือประคองแผลขณะลุกนั่งหรือเดิน เพื่อลดการกระทบกระเทือนแผลผีเย็บ
4.สอนเทคนิคการหายใจลดปวด โดยให้หายใจเข้าทางจมูกลึกๆและผ่อนลมหายใจออกทางปากเพราะการหายใจสามารถควบคุมความเจ็บปวดได้โดยเป็นการเบียงเบนความสนใจมาที่การควบคุมหายใจเข้า ออก
ให้การพยาบาลแก่มารดา ด้วยความนุ่มนวล ช่วยให้อาการปวดแผลลดลดได้
6.พูดคุยให้กำลังใจ เพื่อลดความวิตกกังวล มารดาผ่อนคลายช่วยให้บรรเทาความปวดได้
Day 1 (06/03/65)
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลข้อที่ 1
มารดามีโอกาสติดเชื้อจากแผลฝีเย็บและแผลที่โพรงมดลูก
ข้อมูลสนับสนุน
-มีแผลรกเกาะที่โพรงมดลูก
-ระดับแผลฝีเย็บ First degree tear
วัตถุประสงค์
-เพื่อป้องกันการติดเชื้อ
เกณฑ์การประเมินผล
-V/S อยู่ในเกณฑ์ปกติ
-น้ำคาวปลาไม่มีกลิ่นเหม็น
-แผลฝีเย็บไม่แดงไม่บวม ไม่มีจ้ำเลือด ไม่มี Discharge
กิจกรรมการพยาบาล
1.ประเมินสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง เพื่อประเมินความเปลี่ยนแปลงของร่างกายโดยเฉพาะอุณหภูมิร่างกายค่าปกติ 36.5 - 37.4
C ถ้าอุณหภูมิร่างกาย > 37.5
C ให้เช็ดตัวลดไข้ และหากอุณหภูมิร่างกาย > 38.0 *Cให้เช็ดตัวลดไข้ และให้ยาตามแผนการรักษา
2..ประเมินอาการและอาการแสดงของภาวะติดเชื้อ ได้แก่ มีไข้ ปวดแผลบริเวณผีเย็บมาก แผลบวม แดง มีdischarge น้ำคาวปลามีกลิ่นเหม็น
ดูแลสิ่งแวดล้อมผู้ป่วยให้สะอาดอยู่เสมอ เพื่อลดการสะสมของเชื้อโรคและป้องกันการติดเชื้อจากภายนอกเข้าสู่ร่างกาย
4.ล้างมือให้สะอาดตามหลัก Hand hygiene 5 moments
5.ทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ทุกครั้งหลังขับถ่าย เพื่อป้องกันการสะสมของแบคที่เรียที่อาจส่งผลให้ติดเชื้อได้โดยเช็ดจากหน้าไปหลัง ไม่เช็ดย้อนขึ้น และเปลี่ยนผ้าอนามัยทุก 3- 4 ชั่วโมง หรือเมื่อผ้าอนามัยซุ่ม
การประเมินผล
-V/S วันที่ 06/07/65
BT = 36.5 C
PR =78 bpm.
RR = 18 ครั้ง/นาที
BP = 110/80 mmHg
-น้ำคาวปลาไม่มีกลิ่นเหม็น สีแดงจาง ปริมาณ3/4 ของผ้าอนามัย
-แผลฝีเย็บ ไม่แดง ไม่บวม ไม่มีจ้ำเลือด ไม่มี Discharge
ข้อวินิจฉัยมางการพยาบาลข้อที่ 2 มารดาวิตกกังวลเนื่องจากน้ำนมไหลน้อย
ข้อมูลสนับสนุน
-มารดามีน้ำนมไหล
การประเมินการไหลของน้ำนมระดับ +1
วัตถุประสงค์
-เพื่อให้ทารกได้รับนมมารดาอย่างเพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย
เกณฑ์การประเมินผล
-ระดับการไหลของน้ำนมอยู่ในระดับ +4
-เต้านมมารดาไม่คัดตึงลานนมนิ่ม ไม่มีการอักเสบ
การพยาบาล
กิจกรรมพยาบาล
1.แนะนำให้มารดากระตุ้นลูกดูดนมอย่างน้อย 2-3 ชม. วันละ 10 - 20 ครั้ง อย่างน้อย 15-20 นาที ดูดจนเกลี้ยงเต้า หลังจากให้นมลูกเสร็จ ประคบเต้านมด้วยด้วยความเย็น เพื่อลดความเจ็บปวด
2.กระตุ้นเต้านมโดยการนวดและใช้ผ้าอุ่นประคบ โดยนวดเบาๆบริเวณเต้านมก่อนและระหว่างการป้อนนม เพื่อกระตุ้นการไหลเวียนระบบเลือดและน้ำเหลืองบริเวณเต้านม ส่งเสริมการไหลและลดอาการเจ็บคัดตึงเต้านม โดยสาธิตให้มารดาดูและให้มารดาสาธิตย้อนกลับ
ท่าที่ 1 : บีบ-นวด ขยับไหล่ ให้คุณแม่นั่งหรือยืน ในท่าสบายๆ ใช้มือทั้งสองข้างนวดบริเวณบ่าขยับไหลให้เลือดไหลเวียนได้ดี
ท่าที่ 2 : โกย ใช้ฝ่ามือวางทาบบริเวณรักแร้ ลงน้ำหนักที่ปลายนิ้ว กดไล่จากรักแร้มาที่บริเวณลานนมวางฝ่ามือบริเวณหน้าอกด้านบน กดไล่ลงมาที่ลานนมและวางฝ่ามือที่กึ่งกลางระหว่างอกทั้งสอง กดไล่มาที่ลานนม
ท่าที่ 3 : ตบ ใช้ปลายนิ้วช้อน ใต้เต้านม ตบไล่จากล่างขึ้นบน
ท่าที่ 4 : คลึง ใช้ปลายนิ้วนวดวนเป็นวงกลม โดยรอบเต้านม หากพบก้อนตึงให้ค่อยๆนวดคลึงเบาๆ
ท่าที่ 5 : ยืด วางนิ้วชี้ของมือทั้งสองลงบนหน้าอก กดลงบนเต้านมพร้อมๆกับลากนิ้วทั้งสองออกจากกัน ทำเช่นนี้โดยรอบเต้านม
ท่าที่ 6 : รูด ใช้นิ้วโป้งและนิ้วชี้ของมือทั้งสอง โอบรอบเต้านมกตมือทั้งสองเข้าหากัน
ทำที่ 7 : จิ้ม ใช้ปลายนิ้วชี้กดและคลึงเบาๆ ลงบนขอบลานนมโดยรอบ
ท่าที่ 8 : บีบ วางนิ้วโป้งและนิ้วชี้บนขอบลานนมให้หัวนมอยู่ตรงกลาง ใช้นิ้วทั้งสองกดเข้าหาลำคัวแล้วบีบนิ้มือทั้งสองเข้าหากันเพื่อระบายน้ำนม
3.การให้แม่และลูกได้สัมผัสกันแบบแนบเนื้อ (Skin-To-Skin contact) โดยให้คุณแม่กอดทารกไว้แนบอก โดยให้ผิวหนังของแม่และทารกสัมผัสกัน เป็นวิธีช่วยกระตุ้นการการหลั่งฮอร์โมนโพรแลคตินอละฮอร์โมนออกซิโทซิน ซึ่งเป็นฮอร์โมนสำคัญในกระบวนการผลิตน้ำนม
4.รับประทานอาหารที่กระตุ้นน้ำนม เช่น น้ำขิง กระชาย ตำลึง หัวปลี อินทผลัม เป็นต้น
5.งดการสูบบุหรี่หรือเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
6.พักผ่อนให้เพียงพอวันละ 8-10 ชม. ดื่มน้ำที่สะอาด วันละ 8-10 แก้ว
การประเมินผล
1.การประเมินการไหลของน้ำนมระดับ +2
2.ลานนมนิ่ม เต้านมคัดตึง ไม่มีการอักเสบ
Problem lists
Day0
-ผู้ป่วยเสี่ยงต่อการตกเลือดในระยะแรกหลังคลอด
-ผู้ป่วยไม่สุขสบายเนื่องจากปวดมดลูก
-ผู้ป่วยเสี่ยงต่อภาวะพลัดตกหกล้มเนื่องจากอ่อนเพลีย
Day1
-ผู้ป่วยเสี่ยงต่อภาวะท้องอืดเนื่องจากลำไส้ยังทำงานได้ไม่ดี
-ผู้ป่วยไม่สุขสบายเนื่องจากปวดมดลูก
-ผู้ป่วยมีความวิตกกังวลเนื่องจากน้ำนมไหลน้อย
-ผู้ป่วยเสี่ยงต่อภาวะพลัดตกหกล้ม
การแนะนำการปฎิบัติเมื่อกลับบ้าน
การดูแลแผลตนเอง
1.การรักษาความสะอาดและป้องกันการติดเชื้อดูแลความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์โดยล้างจากด้านหน้าไปด้านหลัง
-เปลี่ยนและใส่ผ้าอนามัยจากด้านหน้าไปด้านหลังเมื่อชุ่ม หรือทุก 3-4 ชม -ล้างมือให้สะอาดทุกครั้งหลังการขับถ่าย
การพักผ่อน
-ควรนอนให้ได้มากที่สุดเมื่อลูกหลับ เพราะร่างกายของคุณแม่จะยังคงอ่อนเพลียจากการผ่าตัดและการให้นมลูกในตอนกลางคืน
ทำกิจวัตรประจำวัน
-กระตุ้นให้มารดามีการ Early ambulate ภายใน 24-48 ชมเช่นลูกนั่งหรือยืนข้างๆเตียงเพื่อป้องกันท้องอืดและทำให้ลำไส้ได้ขยับและกลับมาทำงานได้ตามปกติเร็วขึ้น และจะช่วยให้ฟื้นตัวได้เร็วแต่ถ้ามีอาการมึนศีรษะ ควรนอนราบบนเตียงการออกกำลังกายและการทำงาน (เมื่อกลับบ้าน)
-ไม่ควรยกของหนัก เดินขึ้นลงบันไดบ่อยๆในระยะหลังคลอด
6 สัปดาห์แรก
-สามารถทำงานบ้านที่เบาๆได้ เช่น ปรุงอาหาร ล้างจาน เก็บเสื้อผ้ารวมทั้งดูแลบุตร
การมีเพศสัมพันธ์
-งดมีเพศสัมพันธ์ในระยะหลังคลอดอย่างน้อย 6สัปดาห์หลังคลอดหรือจนกว่าจะได้รับการตรวจหลังคลอด
6 แผลฝีเย็บ
ให้เช็ดทำความสะอาดจากบนลงล่าง เพื่อไม่ให้เกิดการติดเชื้อ หากมีอาการบวมแดง มีDischarge ให้มาพบแพทย์ทันที
มาตรวจตามนัด 6 สัปดาห์หลังคลอดเพื่อประเมิน น้ำคาวปลาการเข้าอู่ของมดลูก ตรวจประเมินปากมดลูก
การดูแลบุตร
1.การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่หลักการให้นมแม่ 4 ด.
ลูกได้ดูดนมแม่หลังคลอดทันทีจะช่วยกระตุ้นการสร้างน้ำนมทำให้น้ำนมมาเร็วขึ้น ถ้าให้ลูกดูดนมแม่ช้าน้ำนมก็จะมาช้าด้วย
ดูดบ่อย : ให้ลูกดูดนมแม่บ่อยตามที่ลูกต้องการ
คือ'หิวเมื่อไหร่ก็ให้ดูดทันที เพราะทารกมักหิวนมทุก 2-3
ชั่วโมงมีข้อยกเว้นระยะ 2-3 วันแรกหลังคลอดเท่านั้น ที่จะต้องให้ลูกดูดนมบ่อยๆ ประมาณ 1-2 ชั่วโมงเพื่อกระตุ้นให้นั้นมมา หลั่งจากนี้ก็ให้ลูกดูดตามต้องการ ดูดถูกวิธี : ท่าดูดนมที่ถูกต้องของลูกก็คือ
ปลายจมูกชิดเต้า ปากอมจนมิดลานหัวนมถ้าลานนัมกว้างก็ให้อมให้มากที่สุด
คางชิดเต้านมลูกดูดแรงและเป็นจังหวะสม่ำเสมอได้ยินเสียงกลีนนมเป็นจังหวะถ้าลูกไม่ค่อยดูดหรือดูดช้าลงให้บีบเต้านมเพื่อเพิ่มปริมาณน้ำนมเข้าปากลูก
ดูดเกลี้ยงเต้า : การให้นมแม่แต่ละครั้งต้องนานพอคือให้ลูกดูดนมให้เกลี้ยงเต้า เพราะน้ำนมในส่วนหลังจะมีไขมันที่เป็นประโยชน์ต่อสมองและร่างกายช่วยให้ลูกอิ่มนานไม่หิวบ่อย
ให้คำแนะนำเพิ่มเติมด้านทักษะ
แนะนำให้ breast feeding อย่างต่อเนื่องเพื่อสร้างสัมพันธภาพระหว่างมารดาทารกการสัมผัส ประสานตาการใช้เสียงูแหลมสูงการเคลื่อนไหวตามจังหวะการรับกลิ่น การให้ความอบอุ่น เลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างน้อย 6 เดือน ให้ลูกมารับวัคนตามนัด เมื่ออายุครบ 2 เดือน
ท่าอุ้มลูกูฟุตบอล Clutch hold หรือ Football hold เนื่องจากมารดามีหัวนมสั้นจึงควรจัดท่าอุ้มลูกฟุตบอล (Clutch hold หรือ hold)ให้ลูกอยู่ในท่ากึ่งตะแคงกึ่งนอนหง่ายขาชี้ไปทางด้านหลังของแม่มือแม่จับที่ต้นคอและ ท้ายทอยของลูกุ กอดลูกให้กระชับกับสีข้างแม่ลูกดูดนมจากเต้านมข้างเดียวกับมือที่จับลูกมื้ออีกข้างประคองเต้านมไว้
ท่านี้เหมาะสำหรับ :
แม่ที่ผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องเพราะตัวของลูกจะไม่ไปสัมผัสและกดทับ แผลผ่าตัดที่หน้าท้องของแม่
คุณแม่ที่มีเต้านมใหญ่หรือลูกตัวเล็กเพราะลูกจะเข้าอมงับเต้านมได้ดีกว่า และคุณแม่ที่คลอดลูกแฝดเพราะสามารถให้ลูกดูดนมจากทั้งสองเต้าพร้อมๆกันได้
ท่านอน side lying position แม่ลูกนอนตะแคงเข้าหากัน
แม่นนศีรษะสูงเล็กน้อยหลังและสะโพกตรงให้ปากลูกอยู่ตรงกับหัวนมของแม่มือที่อยู่ด้านล่างประคองตัวลูกให้ชิดลำตัวแม่อาจใช้ผ้าขนหนูที่ม้วนไว้หรือหม่อนหนุนหลังลูกแทนแขนแม่ก็ได้มือที่อยู่ด้านบ่นประคองเต้านมในช่วงแรกที่เริ่มเอาหัวนมเข้าปากลูกเมื่อลูกดูดได้ดีก็ขยับออกได้ ท่านี้เหมาะสมสำหรับ : แม่ที่ผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องต้องการพักผ่อน หรือให้นมลูกเวลากลางคืน
อาการผิดปกติที่ต้องมาโรงพยาบาล
ด้านแม่
-ปวดท้องมีเลือดออกทางช่องคลอดผิดปกตินำคาวปลามีกลิ่นเหม็นหรือมีสีแดงไม่จางลงตลอดอาการ
-แผลฝีเย็บแยก บวมแดง มีหนอง
-เต้านมอักเสบ บวม แดง กด เจ็บ มีไข้ หนาวสั่น
-มีอาการปวดแสบขัด เวลาถ่ายปัสสาวะ
-หลังคลอด 2 สัปตาห์ยังคลำพบก้อนทางหน้าท้อง
-ปวดบริเวณอุ้งเชิงกราน
ด้านลูก
-อาการตัวเหลือง เขียว ขณะกินนมหรือขณะร้องหายใจหอบรอบปากเขียวคล้ำ มีใข้สูง ร้องกวนไม่ดูดนม เช็คตัวแล้วไข้ยังไม่ลดลงทารกซึมไม่ดูดนม อาเจียนทุกครั้งที่กินนม สะดื้อมีหนองกลิ่นเหม็น อุจจาระเหลวปนน้ำมีเลือดูหรือมีมูกปนตาและ บวมแดงมีน้ำไหลออกมา มีบวมแดงมีไข้มีตุ่มหนองบริเวณผิวหนัง หรือมีจุดเลือดออก