Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีการเรียนรู้ - Coggle Diagram
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มมนุษย์นิยม
หลักความเชื่อ
มนุษย์มีธรรมชาติแห่งความกระตือรือร้นที่จะเรียนรู้
มนุษย์มีสิทธิที่จะต่อต้านหรือไม่พอใจ
การเรียนรู้เป็นสิ่งสำคัญที่สุกของมนุษย์
แนวคิดลักษณะสำคัญ
บรรยากาศหรือสภาพแวดล้อม
ไม่มีการคุกคาม
ทฤษฎีความต้องการของมนุษย์ของMaslow
ความต้องการทางด้านร่างกาย
ความต้องการความปลอดภัย
ความต้องการความรัก
ความต้องการที่จะเป็นที่ยอมรับ
ความต้องการที่จะตระหนักในความสามารถของตน
ความต้องการที่จะรู้และเข้าใจ
ความต้องการในสุนทรียะ
ทฤษฎีของโรเจอร์
กระบวนการพัฒนาค่านิยม
การยอมรับจากผู้อื่น
การยอมรับในตนเอง
ภาวะการมีคุณค่า
ทฤษฎีของ คอมบ์ส
เป็นผู้ที่มีความรู้
เป็นผู้ร่วมงานกับผู้เรียน
ความศรัทธาและความเชื่อที่มีต่อผู้เรียน
เป็นผู้ที่มีความคิดเชิงบวก
มีความเชื่อว่าจะสามารถช่วยเหลือผู้เรียนทุกคนได้
สามารถประยุกต์หลักทฤษฎีในการสอน
การประยุกต์ใช้กับครูผู้สอน
ครูควรเป็นคนใจกว้าง
ครูควรรับฟังผู้เรียนมากยิ่งขึ้น
ครูให้ความสัมพันธ์กับผู้เรียนเท่าเทียมกัน
ยินดีรับฟังข้อเสนอทั้งทางบวกและทางลบ
กระตุ้นให้ผู้เรียนมีความรับผิดชอบ
จัดการเรียน กิจกรรมให้มีความหลากหลาย
กระตุ้นให้ผู้เรียนเข้าใจและประเมินคุณค่า
ประยุกต์ในการจัดการเรียนรู้
ควรจัดการเรียนตามสภาพจริง
ควรจัดการเรียนรู้โดยไม่ยึดติดกับเงื่อนไข
ควรจัดการเรียนรู้ตามความต้องการ
ควรจัดการเรียนรู้ว่าชีวิตเป็นสิ่งมีค่า
ควรเป็นคนร่าเริงและสนุกสนานทุกสถานการณ์
ควรให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากลักษณะภายใน
ควรใส่ความต้องการขั้นพื้นฐาน
ควรกระตุ้นให้ผู้เรียนเห็นคุณค่า
ควรตระหนึกว่าควบคุมดูแลผู้เรียนได้ดี
ควรฝึกให้ผู้เรียนมองข้ามปัญหาเล็กน้อย
ควรทำตัวเป็นผู้เลือกที่ดี
ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคอมเชิงพุทธิปัญญา
การเรียนรู้โดยสังเกตหรือเรียนแบบ
การเรียนรู้เกิดจากปฏิสัมพันธ์
สิ่งแวดล้อมและผู้เรียนมีความสำคัญเท่ากัน
การปรับตัวคือการเรียนแบบ
ให้ความสำคัญกับการสังเกตการกระทำของผู้อื่น
การเรียนรู้ทางสังคมด้วยการเรียนรู้จากการเลียนแบบ
การรับมาซึ่งการเรียนรู้
การกระทำ
พฤติกรรมของมนุษย์
พฤติกรรมตอบสนองที่เกิดจากการเรียนรู้
พฤติกรรมที่เรียนรู้แล้ว
พฤติกรรมที่ไม่เคยแสดงออก
หลักการ 3 ประการ
กระบวนการเรียนรู้อาศัยการตัดสินใจของผู้เรียน
การเรียนรู้เป็นความสัมพันธ์ 3 องค์ประกอบ
ตัวบุคคล
สิ่งแวดล้อม
พฤติกรรม
ผลของการเรียนรู้กับการแสดงออก
ปัจจัยในการเรียนรู้โดยการสังเกต
กระบวนการความเอาใจใส
กระบวนการจดจำ
กระบวนการแสดงพฤติกรรมตามตัวอย่าง
กระบวนการจูงใจ
ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคมJulian B. Rotter
การนำทฤษฎีมาประยุกต์ในการเรียนการสอน
บ่งชี้วัตถุประสงค์
แสดงตัวอย่างของการกระทำ
ให้คพอธิบายควบคู่กัน
ชี้แจงขั้นตอนการเรียนรู้
จัดเวลาให้นักเรียนมีโอกาสแสดงพฤติกรรม
เสริมแรงให้นักเรียนสามารถเลียบแบบได้อย่างถูกต้อง
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
แนวคิดของพาร์พลอฟ
แนวคิดของวัตสัน
พฤติกรรมสามารถควบคุมให้เกิดขึ้นได้
สามารถลดพฤติกรรมให้หายไปได้
ทฤษฎีของธอร์นไดค์
กฏแห่งการใช้
กฏแห่งความฝึกหัด
กฏแห่งความพร้อม
กฎแห่งผลที่พึงพอใจ
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขของสกินเนอร์
การเสริมแรงทางบวก
การลงโทษทางบวก
การเสริมแรงทางลบ
การลงโทษทางลบ
ทฤษฎีแบบกลุ่มปัญญานิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มเกสตัลท์
การรับรู้
การหยั่งเห็น
กฎการจัดระเบียบการเรียนรู้
กฎการรับรู้ส่วนรวมและส่วนย่อย
กฎแห่งการคล้ายคลึง
กฎแห่งความใกล้เคียง
กฎแห่งความสมบูรณ์
กฎแห่งความต่อเนื่อง
บุคคลมักมีความคงที่
การรับรู้ของบุคคลอาจผิดพลาด
ทฤษฎีเครื่องหมาย
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญา
ขั้นรับรู้ด้านประสาทสัมผัส
ขั้นตอนการปฏิบัติการคิด
กระบวนการทางสติปัญญา
การซึมซับ
การปรับและจัดระบบ
เกิดความสมดุล