Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบสืบพันธุ์ Reproductive System - Coggle Diagram
ระบบสืบพันธุ์ Reproductive System
สมองที่ควบคุมการทำงาน
ไฮโปทาลามัส (Hypotharamus)
ต่อมใต้สมองส่วนหน้า (Anterior pituitary gland)
ลักษณะทางพันธุกรรมโดยโครโมโซมมี 2 ชนิด
1.โครโมโซมร่างกาย (Autosome) มี 44 โครโมโซม
2.โครโมโซมเพศ (Sex chromosome) มี 2 โครโมโซม
คือ xx (เพศชาย) และ xy (เพศหญิง)
อวัยวะสืบพันธุ์เพศชาย
(Male reproductive organs)
ภายนอก
ถุงอัณฑะ (Scrotum)
มีหน้าที่รักษาอุณหภูมิให้พอดีกับการเจริญเติบโตของอสุจิ
ป้องกันอันตรายของลูกอัณฑะ
องคชาต หรือ ลึงค์ (Penis)
มีเนื้อเยื่อซึ่งยืดหดตัวได้
ภายในมีหลอดเลือดมากมาย
มีลักษณะเป็นหลอดกลมรูมทรงกระบอก 3 ส่วน :
1.Corpus cavenosum
มี 2 ส่วน ตั้งอยู่บนของความยาว
2.Corpus sponiosum
มีลักษณะเป็นเนื้อเยื่อฟองน้ำหุ้มรอบๆท่อปัสสาวะ
ชั้นนอกสุดขององคชาต
มีหนังหุ้ม
ความยาวคลุมไปถึงส่วนปลายสุด
มีรูปร่างคล้ายเห็ด เรียกว่า Gland penis
หนังที่หุ้ม (Glans penis) เรียกว่า Prepuce
ไวต่อความรู้สึกมาก
มีเส้นประสาทมาเลี้ยง
ภายใน
1.ลูกอัณฑะ (Testis)
สร้างเซลล์สืบพันธุ์
2.ก้านอัณฑะ (Epididymis)
เป็นที่พักชั่วคราวของเชื้ออสุจิที่เจริญเต็มที่
3.ท่อน้ำอสุจิ (Vas deferens)
ผ่านเข้าช่องท้องแล้วออกมารวมกับถุงน้ำอสุจิ
ผ่านต่อมลูกหมากไปท่อปัสสาวะนำตัวอสุจิออกไปภายนอก
4.ถุงเก็บน้ำอสุจิ (Seminal vesicle)
เก็บตัวอสุจิและสร้างน้ำอสุจิ
5.ต่อมลูกหมาก (Prostate glands)
สร้างของเหลวสีขาวคล้ายน้ำนม
เป็นเบสอ่อนๆ
ช่วยให้อสุจิแข็งแรงและว่องไวขึ้น
6.ต่อมขับเมือก (Cowper’s glands)
ขับน้ำหล่อลื่น
ฮอร์โมนของระบบสืบพันธุ์เพศชาย
ทำหน้าที่กระตุ้นให้เด็กผู้ชายเข้าสู่วัยรุ่น
ทำให้อวัยวะสืบพันธุ์ทั้งภายนอกและภายในเจริญเติบโตเต็มที่ เช่น
องคชาตขยายใหญ่และยาวขึ้น
มีขนขึ้นที่อวัยวะเพศ รักเเร้ หน้าแข้ง แขน ขา
การเปลี่ยนแปลงทางด้านจิตใจและร่างกายของเพศชาย
เหงื่อออกมากขึ้น ทำให้มีกลิ่นตัว
เสียงที่แตกห้าว
กระดูก ไหล่ หน้าอกใหญ่และกว้างขึ้น
ผิวหนังสร้างไขมันมากขึ้น รูขุมขนใหญ่ขึ้นทำให้เป็นสิว
อวัยวะเพศมีการแข็งตัว
มีขนใต้รักแร้ และขึ้นตามอวัยวะเพศ
ระบบสืบพันธุ์เพศหญิง
ภายนอก
1.หัวเหน่า (Mona pubis)
ป้องกันการเสียดสีเวลามีเพศสัมพันธ์
2.แคมใหญ่ (Labia majora)
มีมีไขมันเป็นจำนวนมาก
จะปิดบริเวณจะปิดบริเวณปากช่องคลอดมิดชิดเพื่อป้องกันอวัยวะต่างๆ
3.แคมเล็ก (Labia minora)
มีผิวอ่อนนุ่มไม่มีขน
ล้อมรอบ Clitoris ไว้
4.คลิตอริส (Clitoris)
เป็เป็นจุดที่ไวต่อความรู้สึก
5.เวสติบูล (Vestibule)
มีมีหน้าที่ขับน้ำเมือก
6.เยื่อพรหมจารี (Hymen)
อยู่รอบปากเปิดของช่องคลอดมีรูอยู่ตรงกลาง
ภายใน
1.ช่องคลอด (Vagina)
เป็เป็นทางผ่านของประจำเดือน
เป็เป็นทางผ่านของเชื้ออสุจิ
เป็เป็นทางผ่านของเด็กตอนคลอด
3.ท่อรังไข่ (Uterine tube)
การผสมพันธุ์การผสมพันธุ์กันระหว่างไข่กับอสุจิเรียกว่าการปฏิสนธิ
และไข่และไข่ที่ผสมแล้วเรียกว่า Fertilized ovum
ส่วนต่างๆของมดลูกมี 4 ส่วน
1.Interstitial part
2.Isthmus part
3.Ampulla part
4.Infundibulum
4.รังไข่ (Ovary)
มีลักษณะคล้ายเม็ดมะม่วงหิมพานต์
อยู่อยู่ชิดกับท่อรังไข่ตรง Fimbria
ภายในรังไข่ประกอบด้วย follicle เล็กๆเป็นจำนวนมาก
ภายใน follicle จะมีไข่เล็กๆเรียกว่า Primodial ova
2.มดลูก (Uterus)
รูปร่างคล้ายชมพู่
ทำให้เกิดระดูและเป็นที่อยู่ของเด็กในครรภ์
อวัยวะอื่นๆที่ใกล้เคียง
1.ท่อปัสสาวะ (Urethra)
จะอยู่กึ่งกลางระหว่างคลิตอริส (Cistoris) กับปากช่องคลอด (Vagina)
2.กระเพาะปัสสาวะ(Bladder)
อยู่ในอุ้มเชิงกรานอยู่ด้านบนและด้านหน้ามดลูก
3.ทวารหนัก (Rectum)
อยู่ด้านหลังมดลูก มีช่องเปิดทวารหนัก
รอบเดือน
มีการเปลี่ยนแปลงการหลั่งฮอร์โฒนเพศหญิง
การเปลี่ยนแปลงของรังไข่
จะหลั่งฮอร์โกนาโดโทรปินส์ คือ
FSH
LH
มีเลือดออกทางช่องคลอด
การตกไข่
กึ่งกลางของรอบเดือน เช่น วันที่ 14 ถ้ารอบเดือนเป็นวันที่ 28
ไข่จะถูกพัดเข้ามาในท่อรังไข่
และถ้าไข่ผสมกับอสุจิแล้วจะถูกฝังตัว และจัเจริญเติบโตในมดลูกต่อไป
แต่ถ้าไม่ได้มีการผสม ไข่ก็จะฝ่อและหลุดออกมาทางช่องคลอดพร้อมกับประจำเดือนหลังตกไข่ จะมีอายุประมาณ 24 ชม.
การเปลี่ยนแปลงที่มดลูก แบ่งออกเป็น 2 ระยะ
1.Proliferative phase
เกิดขึ้นระหว่างวันที่ 1-5 ของรอบเดือนเป็นช่วงที่มีการหลุดออก หลังจากนั้นระหว่างวันที่ 5-14 เป็นช่วงที่เยื่อบุมดลูกเริ่มมีการเจริญเติบโตของฮอร์โมนเอสโตรเจน
ระยะนี้จะตรงกับ Follicular phase ของการเปลี่ยนแปลงในรังไข่
2.Secretory phase
มีการเตรียมเยื่อบุมดลูกสำหรับการฝังตัวของไข่ที่่ผสมกับอสุจิ จะตรงกับระยะ Luteal phase
มีการสะสมไขมันและไกโคเจน
วัยหมดประจำเดือน
ฮอร์โมนเอสโตรเจนไม่เพียงพอจึงทำให้เกิด LH surge เรียกว่า วัยหมดประจำเดือน
จะไม่สามารถสืบพันธุ์ได้อีก
มีความล้มเหลวในการทำงานของรังไข่ เพราะ ถุงไข่มีจำนวนลดลง และที่เหลืออยู่มีการตอบสนองน้อยลง FSH และ LH
ฮอร์โมนในเพศหญิง
เอสโตรเจน
1.กระตุ้นการพัฒนาของรังไข่ และการเจริญเติบโตของถุงไข่อ่อน
2.กระตุ้นการเจริญเติบโตของกล้ามเนื้อเรียบ
3.กระตุ้นการเจริยเติบโตของอวัยวะสืบพันะุ์ภายนอก
4.กระตุ้นการเจริญเติบโตของเต้านม
5.กระตุ้นให้มีพัฒนาการทรวดทรงของร่าางกาย
6.กระตุ้นการหลั่งของของเหลวออกจากต่อมไขมัน
7.กระตุ้นการพัฒนาของขนที่อวัยวะสืบพันธุ์
8.กระตุ้น Epiphysial phase
9.กระตุ้นให้มีการคั่งของน้ำในร่างกาย
10.กระตุ้นการหลั่งของฮอร์โมนโพรแลคติน
11.มีผลต่อเส้นเลืออด
12.มีผลย้อนกลับไปยับยั้งการควบคุมโกนาโดโทรปินส์
โพรเจสติน
1.เตรียมเยื่อบุมดลูกสำหรับการฝังตัวของไข่ที่ผสมกับอสุจิ
2.กระตุ้นเซลล์ปากมดลูกให้ขับน้ำเมือก
3.กระตุ้นการเจริญเติบโตของเต้านม
4.ยับยั้งฮอร์โมนโพรแลคตินในการขับน้ำนม
5.มีผลย้อนกลับ การหลั่งของโกนาโดโทรปินส์
การเปลี่ยนแปลงในระยะตั้งครรภ์
ถ้าไม่มีการตั้งครรภ์ Corpus Iuteal จะสร้างเอสโตรเจนและโปรเจสเตอโรนแค่ 15 วันก็จะเกิดการฝ่อลีบ
ถ้ามีการตั้งครรภ์ Trophoblast สร้างฮอร์โมนคอลิโอนิคโกนาโดโทรฟิน
หญิงตั้งครรภ์จะตรวจพบได้ทั้งในเลือดและปัสสาวะ จะพบได้ปริมาณมากขั้นอย่างรวดเร็วใน 60-80 วัน
รก ทำหน้าที่สร้างฮอร์โมนทั้ง 2 ให้อยู่นานต่อไปถึงอีก 7 เดือน
เมื่ออายุครรภ์ได้ 40 สัปดาห์ จะเกิดการคลออดขึ้น
การคลอดเกิดขึ้นเมื่อมีการหดตัวของกล้ามเนื้อมดลูกเป็นจังหวะและรุนแรง
กลไกการคลอด
เกิดขึ้นเมื่อมดลูกมีการหดตัวที่ส่วนของ fundus และร่างกายของมดลูกก่อนเมื่อมีการหัดตัว
ฮอร์โมนออกซิโทน ส่วนใหญ่แพทย์ใช้ในการช่วยเร่งคลอดจะทำให้มดลูกมีการหัดตัว
การคลอดแบ่งเป็น 3 ระยะ
1.ระยะการขยายปากมดลูก
2.ระยะขับออก
3.ระยะคลอดทารก