Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อุณหภูมิร่างกาย, นางสาวนาดีญา เด็นหมาน รหัสนักศึกษา64203304016 …
อุณหภูมิร่างกาย
ปัจจัยที่มีผลต่ออุณหภูมิภายในร่างกาย
อายุ(เด็ก,ชรา=อุณหภูมิไม่คงที่)
ช่วงเวลาระหว่างวัน(เช้า=หนาว,กลางวัน=ร้อน,ตอนเย็น-คํ่า=ค่อยๆร้อนน้อย-เย็นขึ้น)
Hormone (ในผู้หญิงจะสูงกว่าในผู้ชาย)
Stress ภาวะความเครียด
Environment สิ่งแวดล้อมรอบข้าง
Exercise การออกกำลังกาย
Infection การติดเชื้อ
ภาวะโภชนาการ (nutrition)
การรับประทานเครื่องดื่มร้อน, เย็น
ภาวะผิดปกติของอุณหภูมิร่างกาย
-อุณหภูมิสูงกว่าปกติ=ไข้
-chills หนาวสั่น =ระบายความร้อนออก
อาการแสดงของ
Hypothermia
อุณหภูมิร่างกายลดลงตํ่ากว่าระดับปกติ
ที่ CBT 35 C ( 95 F) มีอัตราการหายใจเพิ่มขึ้น, การตัดสินใจลดลง, อาการหนาวสั่น
ที่ CBT 35-34 C (95- 93.2 F) อัตราการเต้นของชีพจรช้าหรืออาจเร็ว, กล้ามเนื้อหดเกร็ง, หนาวสั่น, สับสน
ที่ CBT 34-30 C (93.2- 86 F) Bradycardia, Hypoventilation,
ชักเกร็งทั่วไป metabolic acidosis, coma
CBT 30 C ( 86 F) ไม่ปรากฏ v/s , ชัดเจน ไม่ดีขึ้นต่อการได้รับยา, coma, cyanosis,รูม่านตาขยาย, ไม่หนาว
สั่น, มีอาการของการตาย
ระยะของไข้
Onset (cold or chill phase)
ระยะเริ่มต้น หรือระยะหนาวสั่น
1.ชีพจรเพิ่มขึ้น (60-100=ปกติ มากว่าๅ100up =ผิดปกติ)
2.หายใจเร็วขึ้น 3.มีอาการหนาวสั่น 4.ผิวซีดเพราะหลอดเลทอดหดตัว
5.เริ่มหนาว 6.เล็บซีด 7.เหงื่อไม่ออก/ออกน้อย 8.อุณหภูมิสูง
2.ระยะดําเนินของไข้ (fever phase)
ไม่หนาวสั่น,ผิวอุ่น,เริ่มร้อน,กระหายนํ้า,ง่วงซึม/กระสะบกระส่าย/ชัก,
ริมฝีปากลอก,ไม่หิว,กล้่มเนื้ออ่อนแรง,ปวดกล้ามเนื้อ
ระยะสิ้นสุดของไข้
ผิวหนังแดง,เริ่มอุ่นขึ้น,เหงื่อออก,หนาวสั่นลดลง,อาจเกิดภาวะขาดนํ้า
ระดับความรุนแรงของไข้
ไข้ตํ่า (low-grade fever) มีไข้อุณหภูมิระหว่าง 37.1 – 38.2 C
ไข้สูง (high grade fever) มีไข้สูงอุณหภูมิระหว่าง 38.3 – 40.4 C
ภาวะอุณหภูมิร่างกายตํ่ากว่าปกติ
(Hypothermia)
อุณหภูมิตํ่าโดยตั้งใจ
เช่น การฉีดยาลดอุณหภูมิก่อนผ่าตัด30-32 องศา
อุณหภูมิตํ่าโดยไม่ได้ตั้งใจ
เช่น อยู่ในสภาพแวดล้อมที่อากาศเย็น
ชนิดของไข้
Intermittent fever (ไข้เว้นระยะ)
อุณหภูมิขึ้นๆลงๆแต่ส่วนใหญ่จะลงมากกว่า
Remittent fever (ไข้เป็นๆ หายๆ)
อาการไข้จะเป็นๆหายๆแต่ส่วนใหญ่จะหายน้อยกว่า
Constant fever (ไข้คงที่)
อุณหภูมิสูงตลอด/คงที่/เปลี่ยนไม่เกิน2องศา
อาการของ Hypothermia
• อุณหภูมิต่ํ่าลง
• อาการหนาวสั่น, รู้สึกหนาวและสั่น
• ผิวหนังซีด, เย็น
• ความดันโลหิตตํ่า (Hypotension)
• ปัสสาวะออกน้อย
• ขาดการประสานกันของกล้ามเนื้อ
• ความจําลดลง
• มึนงง ง่วงซึม coma
อุณหภูมิร่างกายปกติแต่ละวัย
Infant(ทารก) 36.1 –37.7 C (97- 100 F)
Child(เด็ก) 37 - 37.6 C (98.6- 99.6 F)
Adult(วัยรุ่น-วัยผู้ใหญ่) 36.5 - 37.5 C (97.7- 99.5 F)
Older adult(วัยชรา) 36 - 36.9 C (96.9- 98.3 F)
กลไกการควบคุมระดับอุณหภูมิของร่างกาย
Thermal regulators
ตัวรับระดับอุณหภูมิ ที่อยู่ภายในร่างกาย (deep body tissue)
peripheral tissue thermal receptors อยู่ที่ผิวหนัง
เมื่อผิวหนังหนาวเย็น เกินอุณหภูมิร่างกาย
จะเกิดกระบวนการทางกายภาพ 3 กระบวนการเพื่อเพิ่มอุณหภูมิร่างกาย
• อาการสั่นเพิ่มการผลิตความร้อน
• ยับยั้งการหลั่งเหงื่อ เพื่อลดการระบายความร้อน
• Vasoconstriction เพื่อลดการระบายความร้อน
Central integrator
ตัวควบคุมใน Hypothalamus
เป็นศูนย์กลางการควบคุมอุณหภูมิภายในร่างกาย
Effectors ผลที่เกิดจากตัวรับความร้อน-เย็นถูกกระตุ้นเกิดการปรับตัวของศูนย์ควบคุมอุณหภูมิหรือเป็นผลของการปรับตัว
ชนิดของอุณหภูมิร่างกาย
อุณหภูมิภายใน (core body temperature)
อุณหภูมิในส่วน deep tissues อวัยวะภายใน
เปลี่ยนแปลงเพียงเล็กน้อยในผู้ใหญ่
Critical range or set point = 36.7 – 37 C (98 – 98.6 F )
อุณหภูมิบริเวณผิว (Surface temperature)
อุณหภูมิที่ผิวหนัง, subcutaneous tissues และ fat
เปลี่ยนแปลงขึ้น ๆ ลง ขึ้นอยู่กับการไหลเวียนเลือดที่ผิวหนัง
และจํานวนของการสูญเสียความร้อนภายนอก ในผู้ใหญ่ที่สุขภาพดี
อยู่ระหว่าง 20- 40 C (68- 104 F )
การควบคุมอุณหภูมิร่างกาย
การผลิตความร้อน
กลไกของร่างกาย
BMR อัตราการใช้พลังงานในการทำกิจกรรมต่างๆ
การเผาผลาญอาหาร
การทำงานของกล้ามเนื้อ
การหลังไทรอกซิน T3,T4
fever ภาวะไข้
Voluntary mechanisms
ปัจจัยภายนอก
ใส้เสื้อผ้าให้อุ่น(ผลิตความร้อน)
เคลื่อนไหวให้เยอะ
เพื่อกระตุ้นการทำงานของกล้ามเนื้อ
อยู่ในที่ที่อบอุ่น(กลางแดด,นั่งผิงไฟ)
การระบายความร้อน
Physiologic mechanisms
ภายในร่างกาย
Radiation (การแผ่รังสีความร้อน)
Conduction (การนําความร้อน)
การนําความร้อนไปสู่อากาศ (Conduction to air)
การนําความร้อนไปสู่วัตถุ (conduction to object)
Evaporation (การระเหยกลายเป็นไอ)
Behavioral mechanisms
ภายนอกร่างกาย
ถอดเสื้อผ้า
ลดการเคลื่อนไหว
เพิ่มพื้ที่ผิวให้ระบายความร้อนได้
อยู่ในที่ที่เย็น
นางสาวนาดีญา เด็นหมาน
รหัสนักศึกษา64203304016
หลักสูตรการแพทย์แผนไทยบัณฑิต
สาขาวิชาการแพทย์แผนไทย
รุ่นที่14 ชั้นปีที่1