Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
องค์ความรู้เกี่ยวกับวิชาชีพครู จัดทำโดย นายธรรมรัตน์ อ่ำแจ้ง 640232016 -…
องค์ความรู้เกี่ยวกับวิชาชีพครู
จัดทำโดย นายธรรมรัตน์ อ่ำแจ้ง 640232016
มาตรฐานวิชาชีพครู
มาตรฐานการปฏิบัติงาน
ทำกิจกรรมวิชาการเพื่อพัฒนาวิชาชีพครูอย่างก้าวหน้า
ทำกิจกรรมต่างๆ โดยคำนึงถึงผู้เรียนเป็นสำคัญ
พัฒนาผู้เรียนให้เติบโตเต็มศักยภาพ
พัฒนาแผนการสอนที่ใช้ได้จริงในชั้นเรียน
พัฒนาสื่อการสอนให้มีประสิทธิภาพ
จัดกิจกรรมการสอนให้ผู้เรียนมีพัฒนาการด้านการวิเคราะห์ คิดสร้างสรรค์
รายงานผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่างเป็นระบบ
ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ผู้เรียน
ร่วมมือกับผู้อื่นในสถานศึกษาอย่างสร้างสรรค์
ร่วมมือกับผู้อื่นในชุมชนอย่างสร้างสรรค์
หาและเผยแพร่ข้อมลข่าวสารในการพัฒนา
เปิดโอกาสให้ผู้เรียนเรียนรู้ในทุกสถานการณ์
มาตรฐานการปฏิบัติตน
ด้านที่ 1 จรรยาบรรณต่อตนเอง
ข้อ 1 ครูต้องมีวินัยในตนเอง พัฒนาตนเองด้านวิชาชีพ บุคลิกภาพ และวิสัยทัศน์
มาตรฐานด้านความรู้และประสบการณ์ในวิชาชีพ
มาตรฐานความรู้ : คุณวุฒิไม่ต่ากว่าปริญญาตรี/เทียบเท่า/คุณวุฒิอื่นที่คุรุสภารับรอง
ความเป็นครู
ปรัชญาการศึกษา
ภาษาและวัฒนธรรม
จิตวิทยาสำหรับครู
หลักสูตร
การจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน
การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
การวัดและการประเมินผลการเรียนรู้
การประกันคุณภาพการศึกษา
คุณธรรมจริยธรรม และจรรยาบรรณ
มาตรฐานประสบการณ์วิชาชีพ :
การฝึกปฏิบัติวิชาชีพระหว่างเรียน
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาในสาขาวิชาเฉพาะ
ผ่านการสอนในโรงเรียน ไม่น้อยกว่า 1 ปี และ ผ่านเกณฑ์การประเมินตามหลักเกณฑ์วิธีการ และเงื่อนไขที่ คณะกรรมการคุรุสภากำหนด
จรรยาบรรณวิชาชีพครูที่คุรุสภากำหนด
ด้านที่ 2 จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ
ข้อ 2 ครูต้องรัก ศรัทธา ซื่อสัตย์สุจริต รับผิดชอบต่อวิชาชีพและเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กร
ด้านที่ 3 จรรยาบรรณต่อผู้รับบริการ
ข้อ 3 ครูต้องรัก เมตตา เอาใจใส่ ช่วยเหลือ ส่งเสริม ให้กำลังใจแก่ศิษย์และผู้รับบริการ
ข้อ 4 ครูต้องส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ทักษะและนิสัยที่ถูกต้องดีงามแก่ศิษย์และผู้รับบริการ
ข้อ 5 ครูต้องประพฤติปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีทั้งทางกาย วาจา และจิตใจ
ข้อ 6 ครูต้องไม่กระทำตนเป็นปฏิปักษ์ต่อความเจริญทางกาย สติปัญญา จิตใจ อารมณ์ และ
สังคมของศิษย์ และผู้รับบริการ
ข้อ 7 ครูต้องให้บริการด้วยความจริงใจและเสมอภาคโดยไม่เรียกรับผลประโยชน์โดยมิชอบ
ด้านที่ 4 จรรยาบรรณต่อผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ
ข้อ 8 ครูช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกันอย่างสร้างสรรค์โดยยึดมั่นในระบบคุณธรรม สร้างความ
สามัคคีในหมู่คณะ
ด้านที่ 5 จรรยาบรรณต่อสังคม
ข้อ 9 ครูพึงประพฤติปฏิบัติตนเป็นผู้นำในการอนุรักษ์และพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญาสิ่งแวดล้อม รักษาผลประโยชน์ของส่วนรวมและยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพครู
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542
หมวด 1 บททั่วไป ความมุ่งหมาย และหลักการ (มาตรา 6-9)
หมวด 2 สิทธิและหน้าที่ทางการศึกษา (มาตรา 10-14)
หมวด 3 ระบบการศึกษา (มาตรา 15-21)
หมวด 4 แนวทางการจัดการศึกษา (มาตรา 22-30)
หมวด 5 การบริหารและจัดการศึกษา (มาตรา 31-42)
หมวด 6 มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา (มาตรา 47-51)
หมวด 7 ครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา (มาตรา 52-57)
หมวด 8 ทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษา (มาตรา 58-62)
หมวด 9 เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา (มาตรา 63-69)
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545
หมวด 5 การบริหารการจัดการศึกษา (มาตรา 31-34) และ (มาตรา 37-40)
หมวด 6 มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา (มาตรา 51)
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2553
หมวด 5 การบริหารการจัดการศึกษา (มาตรา 37) และเพิ่มข้อความใน (มาตรา 38)
เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ.2547
สิทธิประโยชน์
บทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการครูและบุคลากรทางการศึกษา
ตำแหน่งข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
การกำหนดตำแหน่งวิทยฐานะ
การเลื่อนขั้นเงินเดือน
โทษทางวินัย
แนวทางการพัฒนา
ครูต้องปฏิบัติตนตามมาตรฐานวิชาชีพครู หลักจรรยาบรรณวิชาชีพครู เพื่อให้เป็นที่ยอมรับต่อศิษย์ ผู้อื่น ชุมชนและสังคม
ครูต้องศึกษาและปฏิบัติตามแนวทางของการศึกษาชาติ และนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการอย่างเหมาะสม
ครูต้องศึกษาและปฏิบัติตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพครูอย่างเคร่งครัด
ครูต้องรัก เมตตา และคอยดูแลเอาใจใส่ผู้เรียนอย่างจริงใจ
ครูต้องประพฤติปฏิบัติตนตามหลักธรรมาพิบาล และมีคุณธรรมจริยธรรมอันดีงามอย่างเหมาะสม
หลักธรรมาภิบาล คุณธรรมจริยธรรมของวิชาชีพครู
หลักธรรมาภิบาล
หลักนิติธรรม (The Rule of Law) : การปฏิบัติตามกฎหมาย ข้อบังคับทั้งในสถานศึกษาและกฎหมายในสังคม
หลักคุณธรรม (Morality) : การยึดมั่นในความถูกต้อง ดีงาม
หลักความโปร่งใส (Accountability) : การเป็นผู้มีความบริสุทธิ์ใจ
หลักการมีส่วนร่วม (Participation) : การมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมที่เกิดประโยชน์ต่อส่วนรวม
หลักความรับผิดชอบ (Responsibility) : การตระหนักในสิทธิและหน้าที่ครู
หลักความคุ้มค่า (Cost-effectiveness) : การใช้ทรัพยากรหรือครุภัณฑ์อย่างคุ้มค่าและเกิดประโยชน์
คุณธรรมจริยธรรมของวิชาชีพครู
คุณธรรมความเป็นคน 4 ประการ
ความรู้รอบ : การตระหนักรู้ว่าอะไรควรหรือไม่ควรประพฤติ
ความเข้มแข็ง : ทางกายและทางจิตใจ
ความพอเพียง : การเดินสายกลางระหว่างขาดกับเกิน
ความยุติธรรม : การให้แก่ทุกคนตามความเหมาะสม
คุณธรรมตามหลักศาสนา
ศาสนาพุทธ
ศาสนาคริสต์
ศาสนาอิสลาม
คุณธรรมของความเป็นคนไทย
ด้านคุณธรรม = สภาพความดีงาม
ด้านสังคม เช่น กริยามารยาท ความสุภาพ การมีสัมมาคารวะ
ด้านการเรียนรู้ ความใฝ่เรียนใฝ่รู้ ความรักโรงเรียน
คุณธรรมของการเป็นข้าราชการที่ดี
ยุทธศาสตร์ที่ 2 การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม ค่านิยม และการพัฒนาข้าราชการยึกหลัก 4 พ.
พึ่งตนเอง
พอดี
พอเพียง
พอใจ
จริยธรรมของครู
พรหมวิหาร 4
เมตตา : ความรัก ความปรารถนาดี
กรุณา : ความสงสาร อยากช่วยเหลือผู้อื่น
มุทิตา : ความเบิกบาน ยินดี
อุเบกขา : ความมีใจเป็นกลาง มองตามความเป็นจริง
ความซื่อสัตย์สุจริต : การประพฤติตรง ความประพฤติชอบ จริงใจ ไม่คิดทรยศ ไม่คดโกงหลอกลวง ไม่เบียดเบียนต่อผู้อื่นและส่วนรวม
จิตสาธารณะ
อาสาทำงานในโรงเรียนด้วยความเต็มใจ
ดูแลครุภัณฑ์ในโรงเรียนอย่างเต็มที่
เข้าร่วมกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อนักเรียน โรงเรียน ชุมชน และสังคม
เข้าร่วมกิจกรรมแก้ปัญหา/ร่วมสร้างสิ่งดีงามของส่วนรวม
เสียสละต่อส่วนรวม
ร่วมกิจกรรมที่ก่อให้เกิดการพัฒนาทางการศึกษา
ให้คำปรึกษาแก่ศิษย์
ช่วยเจรจาเป็นธุระในกิจการของศิษย์และสถาบัน