complex number

Complexnumbers

จำนวนจริงใดๆเป็นจาํนวนเชิงซ้อนที่มีส่วนจินตภาพเป็นศูนย์

Z=a+bj

Introduction

Z คือ จํานวนเชิงซ้อน

a=Re(z) คือ ส่วนจริง

b=Im(z) คือ ส่วนจินตภาพ

j=รากที่สองของ-1

Complex numbers เป็นเครื่องมือทางคณิตศาสตร์
ที่มีความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิศวกรรมได้หลายอย่าง

ในการวิเคราะห์สัญญาณ และprocessing

เช่น ใช้ในการวิเคราะห์วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ

พีชคณิตเชิงซ้อน

การเท่ากันของจำนวนเชิงซ้อน

(a,bj)=(c,dj) ต่อเมื่อ a=c และ b=d

การบวกจำนวนเชิงซ้อน

กระทำได้โดยบวก ส่วนจริงกับส่วนจริง
และบวกส่วนจินตภาพกับส่วนจินตภาพของจำนวนเชิงซ้อนทั้งสอง

คือจำนวนเชิงซ้อนทั้งสองต้องมีส่วนจริง
และส่วนจินตภาพเท่ากัน

274618658_254045250143699_6673083339356719501_n

การลบจำนวนเชิงซ้อน

กระทำได้โดยบวก ส่วนจริงกับส่วนจริง
และบวกส่วนจินตภาพกับส่วนจินตภาพของจำนวนเชิง
ซ้อนทั้งสอง

274462754_372183254474555_6455967939775066779_n

การคูณจำนวนเชิงซ้อน

กระทำได้และใช้คุณสมบัติj^2=-1 มาช่วย

ผลคูณระหว่างจาํนวนเชิงซ้อนและคอนจเูกตของมันเอง

274298974_355050663193394_1558468610470275879_n

274352498_4798024950296763_6102984408819300271_n

การหารจำนวนเชิงซ้อน

274337684_1381986682253640_508716321416518031_n

การหารจำนวนเชิงซ้อนสองจำนวนกระทำได้และใช้คุณสมบัติของคอนจูเกตมาช่วย

The complex conjugate

คือการคอนจเูกตของจาํนวนเชิงซ้อนซึ่งคือการสังยุคของจำนวนเชิงซ้อน

Z เป็นจำนวนเชิงซ้อน Z=a+bj เมื่อ สังยุค (conjugate) Z
จะเขียนแทนด้วย Z จะได้Z =a-bj

ตัวอย่าง Z=5+7j สังยุค(conjugate)จะได้Z =5-7j

ความสัมพันธ์ของระบบพิกัดฉากกับพิกัดขั้ว

ระบบพกิดัฉาก(x,y)

พิกัดฉากนิยมบวกลบในรูปพิกัดฉากไม่นิยม
ในการคูณและหารเพราะยุ่งยากในการหา

274111393_945094482859375_5800914208556270985_n

ระบบพกิดัเชิงขั้ว(r,0)

จำนวนเชิงขั้วในรูปพิกัดฉาก

274313150_1349040115600463_8645060868916138814_n

การนําจํานวนเชิงซ้อนไปใช้งาน :

274799613_1115095002600208_770095074889586137_n

274653622_1059552721261863_2377565576953894446_n

274611283_2918445125125265_6890197932913929610_n

274353764_691363522061147_2399210362410721619_n

โหลดไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ

โหลดตัวต้านทาน

การหาค่าอิมพีแดนซ์ในพิกัดฉากสำหรับ
อิมพีแดนซ์ที่เป็นความ
ต้านทานอย่างดียวจะเป็นจำนวนจริงเท่านั้น
Z=R

โหลดขดลวดเหนี่ยวนํา

เมื่อเราป้อนแรงดัน ไฟฟ้ากระแสสลับให้กับโหลดความต้านทานจะได้รูปคลื่นของกระแสไฟฟ้า in phaseกับแรงดันไฟฟ้า

อิมพีแดนซ์มมีมุ เฟสเป็น90°ทางไฟฟ้า
สามารถหาค่าอิมพีแดนซ์วงจรPure L
Z=jwL

เมื่อเราป้อนแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับให้กับอิมพีแดนซ์ที่เป็นขดลวดเหนี่ยวนำอย่างเดียวจะได้รูปคลื่นแรงดันไฟฟ้านำหน้า กระแสไฟฟ้าอยู่90°ทางไฟฟ่า

โหลดตัวเก็บประจ

เมื่อเราป้อนแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับให้กับอิมพีแดนซ์ที่เป็นตัวเก็บประจุอย่างเดียวจะได้รูปคลื่นแรงดันไฟฟ้าล้าหลังกระแสไฟฟ้าอยู่90°ทางไฟฟ่า

อิมพีแดนซ์มมีมุมเฟสเป์น-90°ทางไฟฟ้า
สามารถหาค่าอิมพีแดนซ์วงจรPure C
Z=1/jwC

สมการแหล่งจ่ายไฟฟ้ากระแสสลับ

เขียนสมการกระแสไฟฟ้าacในระบบพิกัดเชิงขั้วได้

274081735_915956285747168_8040145762701624429_n

275094561_475936134253089_1611529419759949866_n

เขียนสมการแรงดันไฟฟ้าacในระบบพิกัดเชิงขั้วได้

275056496_1923953071125765_1278073333829309551_n

The exponential form of a complexnumber

274200169_990833741809717_5129671865723008277_n 273601547_1261864484307316_8954462698078136075_n 273823115_3164068373874560_7997159243687521999_n 274880604_475999524011267_6655227141130170284_n

น.ส.กานต์ธิดา หาญเมืองใจ เลขที่ 25
วศ.บ.ไฟฟ้า 4 ปี