Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Dementia - Coggle Diagram
Dementia
ปัจจัยเสี่ยง
-
-
-
-
-
6. การขาดวิตามินบางชนิด เช่น วิตามินบี 1 (thiamine) บี3 (nicotinic acid) บี 12 (cobalamin) และกรดโฟลิค (folic acid)
-
-
-
ชนิดของโรคสมองเสื่อม
4. Frontotemporal dementia (FTD) เป็นภาวะสมองเสื่อมที่พบว่ามี tangles*และ plaques และพบว่ามีการฝ่อของเซลล์สมองบริเวณ frontal lobe ซึ่งมีลักษณะเด่นคือผู้ป่วยจะมีความผิดปกติทาง พฤติกรรมมากกว่าทางสติปัญญา ไม่มีปฏิสัมพันธ์กับสังคมที่อยู่แวดล้อม ขาดการยั้งคิด สูญเสียการรับรู้ความเป็น ตัวของตัวเองสูญเสียความสามารถในการใช้ภาษา
3. Dementia with Lewy bodies (DLB) เป็นภาวะที่พบว่ามีสาเหตุจากการสะสมตัวที่ผิดปกติของ ก้อนโปรตีนสะสม (Inclusion Body) ในสมองส่วน basal ทำให้เกิดความผิดปกติต่อการทำงานของสมอง ทั้งด้าน ความคิด ความจำ การวางแผน การประมวลผล ข้อมูล การเคลื่อนไหวร่างกาย
2. Vascular Dementia (VD) เป็นภาวะสมองเสื่อมที่พบร่วมกับการเกิดโรคหลอดเลือด สมอง (cerebrovascular disease) การดำเนินโรคมักเกิดภายใน 3 เดือนหลังเกิดโรคหลอดเลือดสมอง ความรุนแรง ขึ้นอยู่กับบริเวณและขนาดของเนื้อสมองที่ขาดเลือดไปเลี้ยง
เกิดจากภาวะสมองขาดเลือดเมื่อมีลิ่มเลือดที่ผนังหรือหลุดลอยมาจากที่อื่นอุดหลอดเลือดสมองทำให้ปริมาณเลือดไปเลี้ยงสมองลดลงทำให้มีอาการปากเบี้ยวพูดไม่ชัด ซี่ง CT brain พบ Lacunar Infarction
-
1. Alzheimer, s dementia (AD) เป็นภาวะสมองเสื่อมที่มีลักษณะเฉพาะคือมีเนื้อสมองฝ่อเล็กลง (cerebral atrophy) ตรวจพบ amyloid plaque* ซึ่งเป็นโปรตีนที่ช่วยในการสร้างและซ่อมแซมเซลล์สมอง ทำให้หน้าที่ของเซลล์ สมองบกพร่อง อาการเด่นของสมองเสื่อมชนิดนี้คือความจำเสื่อมที่ค่อยๆ เป็นมากขึ้นทีละน้อยและช้าๆ
-
กลไกการเกิดอาการ
เมื่อมีภาวะหลอดเลือดสมองตีบหรือแตก เกิดขึ้น จะทำให้เซลล์ประสาทขาดสารอาหาร เกิดเซลล์ประสาทเสียหายและตายในที่สุด หากเกิดขึ้นใน ตำแหน่งที่เกี่ยวข้องกับการรับรู้ ก็จะทำให้เกิดภาวะสมองเสื่อมเกิดขึ้น
-
-
สถานการณ์ที่ 1
ผู้ป่วยชายไทยอายุ 72 ปี, 3 เดือนก่อนมีอาการปากเบี้ยวพูดไม่ชัด CT brain พบ Lacunar Infarction ได้รับการรักษาต่อเนื่องโดยการรับประทานยา Aspirin 300 mg วันละ 1 ครั้งหลังอาหารเช้า 2 วันก่อนมาโรงพยาบาลมีพฤติกรรมวุ่นวาย ทำกิจวัตรประจำวันไม่ได้ และจำชื่อลูกหลานไม่ได้ ญาตินำส่งโรงพยาบาล แพทย์ให้นอนพักรักษาในโรงพยาบาล และให้ยา Donepezil 10 mg วันละ 1 ครั้ง และ Aspirin 300 mg วันละ 1 ครั้ง
ทฤษฎีการเชื่อมตามขวาง (Cross-linking theory) เมื่ออายุมากขึ้นเนื้อเยื่อคอลลาเจนและอิลาสตินจะมีการเชื่อมตามขวางมากขึ้น ทําให้สูญเสียความยืดหยุ่น มี ลักษณะแข็งแตกและฉีกขาดง่ายขึ้นก่อให้เกิดผลต่อการซึมผ่านของสารที่เยื่อหุ้มทําให้การแพร่ และการดูด ซึมของก๊าซสารอาหารแอนตี้บอดี้ ท็อกซินตลอดจนเมตาโบลัยท์ ผ่านผนังหลอดเลือดลดลง เอ็นจะแข็งและแห้ง ผิวหนังแห้งเหี่ยว กล้ามเนื้อ เสียความยืดหยุ่น ผนังหลอดเลือดมีแรงตึงตัวลดลง ทําให้ประสิทธิภาพในการทำงานของหลอดเลือดมีประสิทธิภาพในการทํางานลดลง