Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 ชีวิตในทัศนะปรัชญาจีน - Coggle Diagram
บทที่ 5 ชีวิตในทัศนะปรัชญาจีน
จุดเริ่มต้นปรัชญาชาวจีน
ประวัติศาสตร์จีน
การปกครอง:กษัตริย์คือโอรสสวรรค์
ประชากร:ฮั่น/ตาหู/มองโกล/ทิเบต
เนื้อที่ประมาณ 9.6 ล้านตารางไมล์
ภูมิประเทศ:ภูเขา/ทะเลทราย/แม่น้ำ
ประเพณีวัฒนธรรม:ผสมผสาน
การปกครอง
การปกครองระบบกษัตริย์เป็นระยะเวลายาวนานกว่า 2000ปี เริ่มตั้งแต่สมัยราชวงศ์ซาง ประมาณ 1766 ปี ก่อนคริสต์ศักราช สิ้นสุดในสมัยราชวงศ์แมนจูเป็นราชวงศ์
ปี1911 จีนเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบอบสาธารณรัฐ โดยการนำของชุน ยัตเซน มี ยวน ซีไขเป็นประธานาธิบดีคนแรกโดยการสละราชสมบัติของจักรพรรดิปูยี ปี ค.ศ. 1912แต่สภาพบ้านเมืองแตกแยกมีการต่อสู่ช่วงชิงอำนาจ
ปี 1949 เกิดการปฏิวัติอีกครั้ง โดยพรรคคอมมิวนิสต์จีน ภายใต้การนำของเหมา เจ๋อ ตุง ทำให้จีนเปลี่ยนแปลงการปกครองเข้าสู่ระบอบสังคมนิยมมาถึงปัจจุบัน ในยุคของเหมาเจ๋อ ตุง มีการจัดระเบียบสังคมใหม่ตามแนวทางโดยการกวาดล้างทำลายระบบความคิดและวัฒนธรรมประเพณีแบบเก่าในยุคศักดินา ซึ่งเป็นอุปสรรคขัดขวางพัฒนาประเทศ
ในยุคของเติ้ง เสี่ยวผิง จีนในยุคของเติ้ง เสี่ยวผิง จีนรับความเจริญก้าวหน้าจากโลกภายนอกภายใต้นโยบาย “สี่ทันสมัย” โดยเร่งรัดพัฒนาประเทศ 4 ด้าน โดยอนุญาตให้ต่างชาติเข้ามาลงทุนประกอบกิจกรรมในจีนได้พร้อมทั้งลดความเข้มงวดในการดำเนินชีวิตของประชาชนลง
เศรษฐกิจ
เดิมจีนขึ้นอยู่กับการเกษตรกรรม ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเพาะปลูกและเลี้ยงสัตว์ ในยุคแรกก่อนเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นคอมมิวนิสต์มีการพัฒนาการผลิตภาคอุตสาหกรรมพื้นฐานเพื่อผลิตสินค้าป้อนผู้บริโภค
ปัจจุบัน จีนได้ชื่อว่ามีอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจในแต่ละปีสูงมากมีผลิตภัณฑ์มวลรวมทางในประเทศ (GDP) ในแต่ละปีสูงกว่าประเทศกำลังพัฒนาอื่น ๆ มีทุนสำรองฯความเจริญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจของจีนกระจุกตัวอยู่เฉพาะเมืองท่าชายฝั่งทะเล ที่เป็นเขตอุตสาหกรรมทันสมัย เช่นนครเซี่ยงไฮ้ กวางเจาเกาะฮ่องกงเป็นต้น แต่ดินแดนที่อยู่ลึกเข้าไปภายใน
สังคม
สภาพสังคมจีนสมัยโบราณเป็นสังคมที่ยกย่องคนมีการศึกษาหรือคนมีความรู้ อาจแบ่งฐานะผู้คนในสังคมออกเป็น 4 ชนชั้น ได้แก่ข้าราชการ (นักปราชญ์)ชาวนา ช่างฝีมือ และพ่อค้า
สภาพสังคมจีนในยุคระบบคอมมิวนิสต์ ตั้งแต่ ค.ศ.1949 เป็นต้นมา เป็นสังคมที่ไม่มีการแบ่งฐานะทางชนชั้น แต่จะให้ความสำคัญแก่ผู้ใช้แรงงานและชาวไร่ชาวนา สตรีได้รับการยกย่องให้มีฐานะเท่าเทียมกับผู้ชาย
จุดด้อยของสังคมในยุคคอมมิวนิสต์จีน คือ การปิดกั้นเสรีภาพและการแสดงออกของผู้คน ทั้งด้านความคิดและการกระทำ เพื่อมิให้ขัดแย้งต่ออุดมการณ์ในยุคสมัยนั้น
วัฒนธรรม
สิ่งที่มีอิทธิพลต่อค่านิยมและวิถีการดำเนินชีวิตของผู้คนคือคำสอนของลัทธิขงจื้อและลัทธิเต๋า
ความหมายของปรัชญาชาวจีน
การคิดอย่างมีเหตุผลและมีระบบเกี่ยวกับการดำเนินชีวิต
ลักษณะปรัชญาจีน
1.ปฏิบัตินิยม
2.มนุษย์นิยม
3.ไม่ผูกกับศาสนา
4.เนื้อหามีเอกบักษณ์เฉพาะ
5.กลมกลืนมนุษย์/โลก จักรวาล
ปรัชญาชาวจีนมี 2 ยุค
1.สมัยโบราณ : เชื่อเรื่องวิญญาณ ( Animism )
2.สมัยรุ่งเรือง :
หยินหยาง
เล่าจื๊อ
ขงจื๊อ
โม่จื๊อ
ชีวิตในทัศนะชาวจีน
ความคิดปรัชญาชาวจีนประกอบด้วย : กลุ่มอนุรักษ์
กลุ่มก้าวหน้า
กลุ่มไม่ยุ่งเกี่ยวสังคม
ขงจื๊อ
ลักษณะสำคัญของปรัชญาขงจื้อ
1.เน้นแนวปรัชญา
2.เน้นด้านจริยธรรมการเมือง
3.เน้นในเรื่องคุณความดีของบรรพบุรุษ
4.การปกครองอย่างมีความเมตตากรุณา
5.และมีความซื่อสัตย์สุจริตเป็นที่ตั้ง
อิทธิพลของปรัชญาขงจื้อต่อชาวจีน
1.ชาวจีนให้ความสำคัญในเรื่องครอบครัวมาก
2.ชาวจีนให้เกียรติต่อผู้สูงอายุ
3.ชาวจีนให้ความสำคัญต่อบรรพบุรุษที่ล่วงลับไปแล้ว
4.ชาวจีนนิยมยกย่องครูบาอาจารย์ แต่ไม่นิยมยกย่องทหาร
5.ชาวจีนไม่ชอบมีเรื่องขึ้นโรงขึ้นศาล แต่พยายามปรองดองกันให้ได้
เต๋า
ลักษณะของเต๋า
1.เต๋าเป็นสิ่งที่เรียกขานด้วยชื่อไม่ได้
2.เต๋าเป็นต้นกำเนิดของสิ่งทั้งปวง (ภาวะและอภาวะ)
3.เต๋ามีอยู่ในที่ทุกหนทุกแห่ง
4.ทุกสิ่งเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา แต่กฎของความเปลี่ยนแปลงนี้โดยตัวมันเองแล้วไม่เปลี่ยนแปลง เป็นกฎที่แน่นอน ตายตัวเที่ยงแท้ มั่นคง ถาวรตลอดไปและกฎที่แน่นอนนี้คือเต๋า
ขงจื๊อ-เต๋า-พุทธ= เซ็น
จุดเริ่มต้นปรัชญาญี่ปุ่น
การปฏิบัติต่อชินโต
จงรักภักดีต่อพระเจ้า
จงรักภักดีต่อจักรพรรดิ
ปฏิบัติตามคัมภีร์
ลักษณะของชาวญี่ปุ่นต่อการปฏิบัตต่อชินโต
1.รักชาติ
2.บูชาบรรพบุรุษ
3.รักษาความสะอาด
4.รักธรรมชาติ
5.กล้าหาญ
ชีวิตในทัศนะปรัชญาเซ็น = ปรัชญาญี่ปุ่น
เซ็ > ฌา
น > ณ
= สมาธิภาวนา
ชีวิต (มนุษย์) ประกอบด้วย
ขันธ์ 5
1.รูป
2.เวทนา
3.สัญญา
4.สังขาร
5.วิญญาณ
Buddhahood
สิ่งหนึ่งที่มีอยู่ในตัวมนุษย์และสิ่งนี้เองที่ทำให้เข้าสู่ความหลุดพ้นเซ็นถือว่าทุกคนมี
Hui-neng
“ พระพุทธเจ้ากับเราเหมือนกัน แต่ต่างกันที่พระพุทธเจ้าไม่มีกีเลสที่หอหุ้มพุทธภาวะส่วนเรายังมีกีเลสหอหุ้มพุทธภาวะ”
ชีวิต (มนุษย์) ในอุดมคติของเซ็น
มนุษย์ไม่ต้องบริสุทธิ์เหมือนพระอรหันต์
มนุษย์ไม่ต้องมีความรู้มาก :
1.1 มีความรู้มาก ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันเป็น
1.2 มีความรู้มาก ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันไม่เป็น
1.3 ไม่มีความรู้มาก ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันเป็น
1.4 ไม่มีความรู้มาก ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันไม่เป็น
มนุษย์ต้องมองโลกด้วยสายตาของศิลปินและใช้ชีวิตด้วยศิลปะ
ปรัชญาเซ็นที่มีอิทธิพลต่อชาวญี่ปุ่น
1.เป็นสังคมรวมกลุ่ม
2.เป็นสังคมรูปแบบ
3.เป็นสังคมเก็บซ่อนความรู้สึก
4.เป็นสังคมอาจารย์กับศิษย์