Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กท่ีมีปัญหาระบบทางเดินหายใจ - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กท่ีมีปัญหาระบบทางเดินหายใจ
โรคทางเดินหายใจส่วนบน
หวัด (Common Cold)
ภาวะแทรกซ้อน
เป็นตัวกระตุ้นให้เกิดอาการหอบในผู้ป่วยโรคภูมิแพ้
เยื่อบุตาอักเสบ หลอดลมอักเสบ หูชั้นกลางอักเสบ ต่อมทอนซิลอักเสบ ไซนัสอักเสบ ปอดบวม
การรักษา
ระบายน้ำมูก ในเด็กโตให้สั่งน้ำมูกออกเอง เด็กเล็กให้ใช้ผ้านิ่มๆหรือกระดาษทิชชูซับออกเบาๆ
ลดอาการไอ โดยกระตุ้นให้ดื่มน้ำอุ่นบ่อยๆ ช่วยให้เสมหะอ่อนตัวและขับออกได้ง่ายขึ้น
ยาปฏิชีวนะ ไม่จำเป็นถ้าไม่มีการติดเชื้อแบคทีเรียซ้ำ
ดูแลให้ร่างกายอบอุ่น และอยู่ในที่ลมไมโกรก อากาศถ่ายเทสะดวก ไม่มีฝุ่นละออง
ดูแลให้ได้รับอาหารอ่อนย่อยง่ายที่มีคุณค่าทางอาหารสูง
แนะนำการดูแล การสังเกตอาการที่ต้องพามาพบแพทย์ เช่น หายใจหอบ หายใจมีเสียง
อาการและอาการแสดง
หลังได้รับเชื้อ ๑-๓ วัน ในทารกมักมีอาการมากกว่าเด็กโต จะมีอาการ น้ำมูก จาม มีไข้ ร้องกวน ดูดนมไม่ดี กระสับกระส่าย หายใจลำบาก อาเจียน อาจมีไข้สูงได้ถึง ๔๐ C
เด็กโตมีอาการคัดจมูก เจ็บคอ ไอปวดเมื่อยตามตัว ครั่นเนื้อครั่นตัว ปวดศีรษะและอ่อนเพลีย จะมีอาการมากใน ๑-๒ วันแรก ซึ่ง
การวินิจฉัย
จากการซักประวัติ รวมทั้งอาการและอาการแสดง
การตรวจร่างกาย พบเยื่อบุผนังจมูกบวมแดง อาจพบคอหอยและต่อมทอนซิลบวมแดง ต่อมน้ำเหลืองที่คออาจคลำได้โตเล็กน้อย
สาเหตุ
เชื้อแบคทีเรีย เชื้อที่เป็นสาเหตุโดยตรง ได้แก่ Corynebacterium diptheriae, Mycoplasma pneumonia
เชื้อไวรัส เชื้อที่พบบ่อย ได้แก่ rhinovirus
คออักเสบเฉียบพลัน (Acute Pharyngitis)
การรักษา
การรักษาทั่วไป เป็นการรักษาตามอาการ เช่นการให้ยาลดไข้ แก้ปวด
การรักษาเฉพาะ เป็นการให้ยาปฏิชีวนะเพื่อกำจัดเชื้อที่เป็นสาเหตุ เช่น penicilin ชนิด รับประทานนาน ๑๐ วัน หรือ benzathine penicillin ฉีดเข้ากล้ามเนื้อครั้งเดียว
ภาวะแทรกซ้อน
มักเกิดจากเชื้อ streptococcus ได้แก่ parapharyngeal abscess, retropharyngeal abscess, ชนัสอักเสบ หูชั้นกลางอักเสบ เยื่อหุ้มสมองอักเสบ ไตอักเสบ และไข้รูห์มาติก
อาการและอาการแสดง
คออักเสบจากเชื้อไวรัส อาการสำคัญคือ มีไข้ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร เจ็บคอ อาการจะค่อยๆเป็นมากขึ้น
คออักเสบจากเชื้อสเตร็ปโตค็อคคัส มักพบในเด็กอายุ 6 ปีขึ้นไป อาการรุนแรงกว่ากลุ่มที่เกิดจากไวรัส
ไข้สูง ปวดศีรษะ อาเจียน เจ็บคอ กล่นอาหารลำบาก
การวินิจฉัย
จากการซักประวัติ อาการและอาการแสดง
จากการตรวจร่างกาย คออักเสบจากเชื้อไวรัส ตรวจพบคอแดงมาก อาจพบแผลที่เพดาน อ่อน ผนังด้านหลังของคอ และต่อมทอนซิล ต่อมน้ำเหลืองที่คอโตและกดเจ็บ ส่วนคออักเสบจากเชื้อแบคทีเรีย
สาเหตุ
Virus พบร้อยละ ๗๐-๙๐ Adenovirus, Para-Influenza, Influenza
Bacteria พบร้อยละ ๑๐-๓๐ Streptococcus gr.A , C.diphtheriae
ครู๊ป (Croup)
สาเหตุ
เชื้อไวรัส เป็นสาเหตุสำคัญพบได้บ่อยที่สุด เชื้อที่พบบ่อยที่สุดคือ parainfluenza virus, RSV, adenovirus
เชื้อแบคที่เรีย มักพบแทรกซ้อนตามหลังเชื้อไวรัสเช่น H.influenza, streptococcus, pneumococcus, staphylococcus
อาการและอาการแสดง
การอักเสบของฝาปิดกล่องเสียง(acute epiglottitis) เริ่มด้วยมีไข้สูงอย่างเฉียบพลัน เจ็บ คอ เสียงแหบ ไอเสียงก้อง หายใจเข้ามีเสียงฮืด บางรายอาจมีเสียงฮืดขณะหายใจออกด้วย
การอักเสบของกล่องเสียง(acute laryngitis) เริ่มด้วยมีอาการของการติดเชื้อของทางเดิน หายใจ เช่น คัดจมูก มีไข้ ปวดศีรษะ ครั่นเนื้อ ครั่นตัว ปวดเมื่อ เจ็บคอ ไอ เสียงแหบ โดยทั่วไปอาการไม่รุนแรง
การวินิจฉัย
มีการติดเชื้อแบคทีเรียซ้ำซ้อน และการติดเชื้ออาจลุกลามไปยังหู ชั้นกลาง หลอดลมฝอย เนื้อปอด
ภาวะแทรกซ้อน
จากการซักประวัติ รวมทั้งอาการและอาการแสดง
การถ่ายภาพรังสีที่คอในท่า posterior-anterior
การตรวจร่างกาย
การรักษา
พิจารณาตามความรุ่นแรง
มีอาการน้อย ไม่มีเสียงฮืดขณะพัก ผู้ป่วยกลุ่มนี้สามารถกลับไปรักษาตามอาการที่บ้านได้
อาการปานกลาง ควรรับไว้รักษาในโรงพยาบาล ให้ออกชิเจนที่มีความชื้น
อาการรุนแรงมาก ให้การรักษาโดยการพ่นยา epinephine หรือ dexamethasone
โรคทางเดินหายใจส่วนล่าง
หลอดลมฝอยอักเสบ (Bronchiolitis)
การวินิจฉัย
จากการซักประวัติ รวมทั้ง อาการและอาการแสดง
การตรวจร่างกาย บอาการ หายใจเร็ว หายใจลำบาก
ปีกจมูกบาน มีหน้าอกบุ๋ม ทรวงอก
การถ่ายภาพรังสื พบ overaeration ของปอดทั้งสองข้าง อาจพบปอดบางส่วนแฟบหรือมี interstitial infitration ในรายที่มีปอดอักเสบร่วมด้วย
พยาธิ
เชื้อไวรัสจะแบ่งตัวที่ชั้นมิวโคซ่าของหลอดลมฝอย ทำให้เกิดการอักเสบของหลอดลมฝอย
มีผลต่อ epithelial cell ทำให้ขนโบกพัดบวมและสูญเสียหน้าที่ RSV ทำให้ cell membrane ที่ติดเชื้อกับ cell membrane ที่ติดกับ epithelial cell รวมกัน กลไกนี้ทำให้ bronchiole mucosa บวม
อาการและอาการแสดง
เริ่มจากอาการของการติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบน ต่อมามีอาการไอ หายใจมีเสียงวี๊ด หายใจเร็ว ร้องกวน ไม่ดูดนม หายใจลำบาก หายใจหน้าอกบุ๋ม หัวใจเต้นเร็ว ซีด เขียว มักจะรุนแรงที่สุด ๒-๓วัน
สาเหตุ
Respiratory syncytial (RSV) เป็นเชื้อก่อโรคที่พบมากกว่า ๕๑% ของผู้ป่วยเชื้ออื่น
ที่ทำให้เกิด bronchidltis ไต้แก่ parainfluenza , adenovirus, inifuenza และ mycoplasma
ภาวะแทรกซ้อน
พบน้อยมาก ภาวะทีอาจจะพบ ได้แก่ โรคปอดอักเสบและการติดเชื้อในกระแสเลือด
การรักษา
ให้ออกซิเจนที่มีความชื้นสูง
ให้สารน้ำให้เพียงพอ ถ้หอบมากงดน้ำงดอาหารทางปาก และให้สารน้ำทางหลอดเลือด
ให้ยาขยายหลอดลม โดยให้ยา adrenaline ๑: ๑๐๐๐ ฉีดเข้าใต้ผิวหนัง หรือให้โดยวิธีพ่น
การให้คอร์ติโคสเดียรอยด์ ปัจจุบันยังไม่มีข้อพิสูจน์ว่าได้ผลดีต่อการรักษา
ให้ยาต้านไวรัส เช่น แbain ในกรณีที่ทราบแน่ชัดว่าเกิดจาก RSV โดยให้รูปของยาพ่น
ให้ยาปฏิชีวนะในรายที่มีการติดเชื้อแบคทีเงียซ้ำ
ในรายที่อาการรุนแรงมาก อาจใส่ท่อทางเดินหายใจ และใช้เครื่องช่วยหายใจ
หลอดลมอักเสบ (Bronchitis)
การรักษา
ให้ยาขับเสมหะหรือยาละลายเสมหะ/กระตุ้นให้ผู้ป่วยดื่มน้ำมากๆ ไม่ควรใช้ยาระงับในการไอ
ให้ยาขยายหลอดลม หากมีการหดเกร็งของหลอดลมและไฮมาก
ทำกายภาททรวงอก / suction การจัดทำผู้ป่วย กระตุ้นให้ผู้ป่วยไอเอาเสมหะออก
เช็ดตัวหรือให้ยาลดไข้หากมีอาการไข้
ไม่ต้องใช้ยาต้านแบดที่เรีย เนื่องจากสาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากเชื้อไวรัส
๖ ถ้าไอเกิน ๓๐ วัน ต้องแยกจากโรคไฮเรื้อรังอื่นๆ เช่น TB. Athma, FB ( foreign body )
สาเหตุ
เกิดจากการติดเชื้อไวรัส ที่พบบ่อย ได้แก่ respiratory syncytial virus
เกิดจากภาระภูมิแท้
จากสารต่าง ๆ เช่น ควันบุหรี่ ฝุ่นละออง สารเคมี
พยาธิ
มีการทำลายของเซลเยื่อบุทางเดินหายใจ ซึ่งอาจจะรุนแรงมากถ้าเป็นการติดเชื้อ Infuenza แต่ถ้าเกิดจากเชื้อ สำinovrus อาการจะมีเพียงเล็กน้อย
อาการและอาการแสดง
ไอ เป็นอาการนำที่สำคัญที่สุด มีอาการระคายดอ ไอแห้งๆ เสมหะใสเหนียวหรือขาวต่อมาเหลืองขุ่น อาการไอจะมากขึ้นเรื่อยๆ
ไข้ อาจจะมีหรือไม่มีก็ได้
อาเจียน มักกิดในเด็กเล็กจากการที่ไม่สามารถกำจัดเสมหะที่เหนียวออกได้ หรือไอมากทำให้ขย้อน
การวินิจฉัย
จากการชักประวัติ รวมทั้งอาการและอาการแสดง
การตรวจร่างกาย ฟังปอดได้เสียงผิดปกติในระยะที่เริ่มมีอาการไฮ โดยได้เสียง rhonchi, เสียงหายใจดังผิดปกติ, มีเสียงวี๊ด และ coarse crepitation
การถ่ายภาพรังสี อาจพบว่าปกติ หรือมีลักษณะ increase bronchial marking
ภาวะแทรกซ้อน
เมื่อได้รับการตูแลรักษาที่เหมาะสม อาการไอควรจะตีขึ้นภายใน ๗-๑๐ วัน
ถ้าไอ > ๑๐วัน และมีใข้ ให้นึกถึงการติดเชื้อแบคที่เรียแทรกซ้อนได้แก่ Hemophlus Influenzae, Streptococus Pneumoniae, Strepphylococus aureus ซึ่งนำไปสู่ การเกิดโรคปอดอักเสบ
ในกรณีที่สงสัยว่าจะมีการติดเชื้อแบคทีเรียซ้ำ ควรตรวจ เสมหะโดยการทำ Gram stain และส่งเพาะเชื้อ
ปอดบวม (Pneumonia)
สาเหตุ
สาเหตุจากเชื้อไรัส พบได้ในทุกอายุ มีอาการหวัด ปวดเมื่อยตามตัว ประวัติสัมผัสกับบุคคล
โรคปอดอักเสบในผู้ป่วยที่ป่วยด้วยโรคเรื่อรังยื่นมาก่อน
สาเหตุจากเชื้อแบคทีเรียในครอบครัว
Streptococus pneumoniae พบในเด็กโต
Haemophilus pneueumoniae พบในผู้ป่วย ๑-4 ปี
Staphylococcus aureus พบในเด็กเล็กและเด็กโต
Mycoplasma pneumoniae พบในอายุ > ๕ ปี
Chlamydia pneumoniae พบในอายุ < ๖ เตือน
ในเด็กอายุ ๒ wk. - ๔ month. มักจะมีปอดอักเสบร่วมกับตาอักเสบ
อาการและอาการแสดง
ปอดบวมจากเชื้อไวรัสและแบคทีเรีย มักเกิดจากภายหลังการติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบนอยู่
หลายวัน เช่น ไข้ หวัดและไอ ปอดบวมจากเชื้อไวรัสมักมีใช้ต่ำกว่ปอดบวมจากเชื้อแบคทีเรีย
การวินิจฉัย
การซักประวัติและการตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจนับเม็ดเลือดขาว (complete blood count) โดยทั่วไปไม่สามารถใช้แยกเชื้อที่เป็นสาเหตุของโรคปอดได้
การถ่ายภาพวังสีปอด ทำในรายที่สงสัยว่ามีภาวะแทรกช้อน เช่น มีน้ำหรือหนองในช่องเยื่อหุ้มปอด
ภาวะแทรกซ้อน
น้ำในช่องเยื่อหุ้มปอด พบได้บ่อยที่สุด
หนองในช่องเยื่อหุ้มปอด
มีลมและมีหนองในช่องเยื่อหุ้มปอด เป็นผลจากการอักเสบอย่งรุนแรงของปอดทำให้มีการทำลายเนื้อปอดเป็นถุงหรือฝีแตกทะลุเข้าไปในเยื่อหุ้มปอด
ทำลายเนื้อปอดเป็นถุงหรือเป็นฝีแตกทะลุเข้าไปในช่องเยื่อหุ้มปอด เด็กจะมีอาการเจ็บหน้าอกและเหนื่อยหอบในทันที
เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ จะมีอาการเจ็บหน้าอกบริเวณ precordium ซึ่งอาการจะมากขึ้นเมื่อขยับตัวหรือไอ
อาจพบ sepsis เยื่อหุ้มสมองอักเสบ ปอดแฟบตามมา
การรักษา
รักษาโดยทั่วไป ( Supportive care )
ดูแลให้ได้รับน้ำอย่างเพียงพอ และให้ดื่มน้ำมากๆ
ควรให้ผู้ป่วยได้รับสารอาหารอย่างเพียงพอ
ระบายเสมหะ ( Suction )ด้วยการทำกายภาพทรวงอก
ถ้าเสมหะเหนียวหิจารณาให้ยางะลายเหะร่วมด้วย
อาการไข้ ควรเช็ดตัวลดไข้ ( Sponge )และให้ยา
การรักษาตามอาการ ( Symptomatic treatment)
ให้ออกซิเจน ถ้าผู้ป่วยมีอาการเขียว ไม่ดูดนม-น้ำ หอบ มีชายโครงบุ๋มมาก อัตราการหายใจมากกว่า70 ครั้ง/นาที กระวนกระวาย ซึมลง
ถ้ามีเสมหะมาก ให้ยาละลายเสมหะ เช่น Bromhexine, Acetylcysteine
ให้ยาต้านแบคทีเรีย ( Antibiotic ) ในรายมีอาการรุนเรงหรือสงสัยว่ามีการติดเชื้อแบคที่เรีย
โรคระบบหายใจจากภูมิแพ้
เยื่อบุจมูกอักเสบจากภูมิแพ้ (Allergic Rhinitis)
อาการและอาการแสดง
อาการนำที่สำคัญคือ อาการจาม คัน และมีน้ำมูกใสๆ ไหล มักเป็นเวลาเช้าหรือกลางคืน รวมทั้งอาการคัดจมูก
ภาวะแทรกซ้อน
การติดเชื้อ เนื่องจากมีความต้านทานต่อเชื้อไวรัสและแบคทีเรียลดลง
Serous otis media เพราะมีการบวมของเยื่อบุซองท่อยูสเตเซี่ยน อาจทำให้หูอื้อ
โรคหอบหืด
ในเด็กเล็กที่มีอาการหายใจลำบาก เนื่องจากอาการเยื่อบุจมูกบวม ทำให้เกิดการอุดตัน ทางเดินหายใจในเด็กเล็ก และอาจเป็นสาเหตุของการตายโดยไม่ทราบสาเหตุในเต็กเล็ก
Orofacial dental deformities เกิดจากการอุดกั้นทางจมูก เด็กจึงต้องหายใจทางปาก
เป็นเวลานาน ทำให้ช่องปากมีรูปร่างผิดปกติไป ทำให้เพดานโค้งสูง แคบ เหงือกมี hypertrophy มีการสบ
ฟันผิดปกติ
การวินิจฉัย
การซักประวัติ เช่น โรคภูมิแพ้ใครอบครัว อาการนำที่สำคัญ ประวัติโรคภูมิแพ้ที่ส่วนอื่นๆ
การตรวจร่างกาย พบเยื่อบุจมูกบวม ชีด ในระยะที่มีการอักเสบจะบวม แดง turbinate บวม ซีด หรือเทา น้ำมูกใส เด็กเล็กหายใจไม่ออก
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ ได้แก่ การทดสอบทางผิวหนัง(skin prick test), nasal smear cytology, nasal challenge ด้วย methacholine,histamine หรือ allergen
การรักษา
การหลีกเสี่ยงสารก่อภูมิแพ้และสารระคายเคือง โดยการจัดสิ่งแวดล้อมภายในบ้านเพื่อ หลีกเสี่ยงสารก่อภูมิแพ้
การรักษาด้วยกลุ่มยาที่ใช้ ได้แก่
ยาแก้แพ้ชนิดรับประทาน เช่น chopheniramine, diphenhydramine,
ยาลดเชื่อบุจมูกบวม ช่วยให้หลอดเลือดหดตัวจึงช่วยลดอาการคัดและแน่นจมูก
ยาอื่นๆ เช่น sodium cromoglycate, budesonide
การฉีดวัคชีนภูมิแพ้(Immunotherapy) ใช้ในกรณีที่ไม่สามารถควบคุมอาการได้ด้วยยา
การรักษาด้วยการผ่าตัด เป็นการรักษาร่วม เช่น การผ่าตัดต่อมอดีนอยด์และต่อมทอนซิล
สาเหตุ
พันธุกรรม เป็นการถ่ายทอดทางพันธุกรรมชนิต autosomal dominant
สารก่อภูมิแพ้ อาจผ่ายเข้าโตยการหายใจ หรือโดยการรับประทาน ได้แก่ ไรฝุ่น ฝุ่นบ้าน เกสรดอกไม้ นุ่น ขากและเศษแมลง สะเก็ด ผิวหนังสัตว์ เช่น สุนัข แมว สปอร์เชื้อรา นมวัว ถั่ว อาหารทะเล
เหตุเสริมที่ทำให้อาการแสดงมากขึ้น เช่น โรคติดเชื้อทั้งเชื้อแบคทีเรียและไวรัส สารระคายเคืองต่างๆ
หืด (Asthma)
สาเหตุ
ปัจจัยภายในตัวผู้ป่วย ได้แก่ พ้นธุกรรม
ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม ได้แก่ ปัจจัยที่ก่อให้เกิดโรค เช่น ไรฝุ่น ขนหรือรังแคสัตว์
เศษและขี้แมลง
เชื้อรา ละอองเกสร หญ้า เป็นต้น
อาการและอาการแสดง
หวัด มีเสมหะ
ไอ ถ้ไอมากขึ้นเรื่อยๆ ก็มักจะมีเสียงวี้ดๆ (wheezing) ในช่วงหายใจออก
เมื่อร่างกายขาดออกชิเจนมากขึ้น ก็เกิดอาการหอบมาก ปากชีดเขียว ใจสั่น บางครั้งการเกร็งตัวของหลอดลม
การวินิจฉัย
การวินิจฉัยได้จากข้อมูลประวัติ อาการและอาการแสดงที่สำคัญ และประวัติครอบครัวที่
การตรวจร่างกาย และ/หรือ การทสอบสมรรถภาทปอดที่เข้าได้กับโรคหอบหืด
การรักษา
รักษาโดยการใช้ยา ยาบรรเทา อาการหอบหืด ได้แก่ epinephrine, salbutamol, terbutaline ยาควบคุมอาการ ได้แก่ budesonide, zafirlukast, formoterol theophylin
การรักษาโดยการฉีดวัดชีนภูมิแพ้
การให้คำแนะนำแก่เด็กและครอบครัว ตังต่อไปนี้
การหลีกเลี่ยงสิ่งกระตุ้นต่างๆที่ทำให้เกิดอาการ
การควบคุมสิ่งแวดล้อมภายในบ้านเพื่อลดสิ่งกระตุ้น
สอนวิธีการใช้ยาขายหลอดลม ยาป้องกัน
แนะนำการดูแลช่วยเหลือบุตรเมื่อมีอาการหอบ
แนะนำการส่งเสริมสุขภาพบุตรในเรื่อง อาหาร การพักผ่อน การป้องกันโรคติดเชื้อทางเดินหายใจ
การดูแลผู้ป่วยเด็กท่ีมีปัญหาระบบทางเดินหายใจด้วย กายภาพบําบัดทรวงอกและออกซิเจน
Nasal cannula หรือ Nasal prongs
เป็นอุปกรณ์การให้ออกซิเจนที่ใช้ได้ง่าย และเหมาะสำหรับผู้ป่วยเด็กที่ต้องการออกชิเจนที่มีความ เข้มข้นไม่สูงมากให้ได้ทั้งในผู้ป่วยที่รับการรักษาอยู่ที่โรงพยาบาลและผู้ป่วยที่จำเป็นต้องได้รับออกซิเจนที่บ้าน
การให้ออกซิเจนทางกระโจม (Oxygan tent หรือ Croup tent)
เป็นกระโจมพลาสติกใส ใช้ครอบเหนือตัวผู้ป่วยทั้งตัว มีซิปยาวด้านข้างสำหรับรูดลงเวลาให้การ
พยาบาลทำให้ FiO๒, ลดต่ำลงเป็นครั้งคราว FiO๒, ที่ได้มักไม่สูงเกิน ๕๐% แม้ให้
O๒, flow ถึง ๑0 ลิตร/นาที
Face mask หรือ Simple oxygen mask
เป็นเครื่องมือให้ออกซิเจนในระบบ Low flow system ใช้สำหรับเด็กโตหรือผู้ใหญ่ mask ที่ใช้ ต้องมีขนาดเหมาะสมที่จะครอบพอดีจมูกและปากของผู้ป่วย (ที่ด้านข้างของ mask จะมีรูเป็นรูเปิดระบายลมหายใจออก
Mask with reservoir bag
๓.๑ Partial rebreathing mask ไม่มี one-way-valve ระหว่าง mask และ reservoir bag ทำ ให้ลมหายใจออกสามารถเข้าไปปะปนกับออกซิเจนใน reservoir bag ทำให้ FiO, ใน reservoir bag ลดลง
๓.๒ Non rebreathing mask มี one-way-valve ระหว่าง mask และ reservoir bag เพื่อ ป้องกันไม่ให้ลมหายใจออกเข้าปะปนใน reservoir bag โดยลมหายใจจะออกได้ทางรูด้านข้างของ mask
Oxygen hood หรือ Oxygen box
ในการให้ออกชิเจนชนิดนี้ ควรเปิดออกซิเจนมากกว่า ๔ ลิตร/นาที ขึ้นไป เพื่อป้องกันการคั่งของ
ใช้ครอบเหนือศีรษะและคอของเด็ก นิยมใช้ในเด็กเล็กที่ต้องการ
ออกชิเจนร่วมกับฝอยละอองความชื้น โดยเฉพาะผู้ป่วยเด็กที่มีเสมหะเหนียวระบายออกได้ยาก
Closed incubators
เป็นตู้พลาสติกใสซึ่งใช้ควบคุมอุณหภูมิเด็ก สามารถใช้อุปกรณ์การให้ออกซิเจนทารกได้ ซึ่งสามารถให้ออกซิเจนที่ FiO๒ ต่างๆ ขึ้นกับปริมาณออกซิเจนที่เปิด ซึ่งมักไม่เกิน ๔.%
ตู้บางชนิดอาจมีปุ่มสำหรับปรับไม่ให้อากาศภายนอกเข้าไปผสม
Venturi mask หรือ Air entrainment mask
เป็นการให้ออกซิเจนในระบบ High flow system โดยอาศัยหลัก Bernoull's principle เปิด๑๐๐% ออกซิเจนให้ไหลผ่านทางออกที่ตีบแคบ
Mechanical aerosol system หรือ Air entrainment nebulizer
เป็นการให้ออกซิเจน และฝอยละออง(Aerosol) โดย Large volume jet nebulizer ซึ่งสามารถ ปรับความเข้มข้นของออกซิเจนได้ ใช้หลักการ Air entrainment เช่นกัน โดยมี Entrainment port ที่บริเวณฝ่าของ nebuizer ซึ่งปรับขนาดได้ต่างๆกัน และให้ FiO๒ ในระดับต่างๆกัน แล้วแต่ชนิดของอุปกรณ์