Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
GDMA2 c thich meconium ความหมาย โรคเบาหวานในขณะตั้งครรภ์ชนิดที่ 2 ร่วมกับ…
GDMA2 c thich meconium
ความหมาย โรคเบาหวานในขณะตั้งครรภ์ชนิดที่ 2 ร่วมกับ ภาวะสูดสำลักขี้เทา
GDMA2
ชนิดของโรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์
โรคเบาหวานที่วินิจฉัยได้ก่อนขณะตั้งครรภ์ (Pregestational Diabetes mellitus/over DM
โรคเบาหวานที่วินิจฉัยได้เป็นครั้งแรกขณะตั้งครรภ์ (Gestional Diabetes mellitus GDM)
มารดา GDMA2 (Gestational Diabetes Mellitus) ได้รับ Insulin ฉีด RI 20-0-20 sc และ NPH 12 U sc hs
ผลของโรคเบาหวานต่อภาวะสุขภาพทารกในครรภ์
. ภาวะหายใจลำบาก (Respiratory distress syndrome : RDS) เกิดการพัฒนาของปอดทารกน้อยกว่าปกติ เป็นผลจากอินซูลินไปยับยั้งการทำงานของ cortisal ซึ่ง cortisal เป็นตัวกระตุ้นฮอร์โมน Glucocorticoid ให้สร้าง สาร Surfactans ของปอดทารก
Lung : Rhonchi both lungs
การรักษาและการพยาบาล
ทารกแรกเกิดควรอยู่ภายใต้การดูแลของกุมารแพทย์อย่างใกล้ชิด เพื่อเฝ้าระวังภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ หายใจถูกกด แคลเซียมในเลือดต่ำ ภาวะบิลิรูบินสูง
thich meconium
ทารกจะมีอุจจาระออกมาอยู่ในลำไส้ใหญ่ตั้งแต่แรก และลักษณะอุจจาระนี้ที่เรียกว่าขี้เทา ซึ่งจะมีส่วนประกอบหลายอย่างที่ทำให้มีลักษณะ มันเหนียวเขียวจนเกือบจะดำ เราจึงเรียกว่าเป็นขี้เทา ซึ่งจะมีตั้งแต่ไขของตัวเด็กเอง หรือเป็นขนอ่อน ๆ ของตัวเด็กเอง น้ำคร่ำ หรืออะไรที่ปนอยู่ด้วยกัน
สาเหตุของการเกิดภาวะสูดสำลักขี้เทาเกิดขึ้นได้
การที่เด็กทารกที่อยู่ในครรภ์ถ่ายขี้เทาออกมาก่อนกำหนด ส่วนใหญ่เกิดจากการที่มีการขาดเลือดไปเลี้ยงทารก อาจจะเกิดจากสาเหตุของโรคประจำตัวของคุณแม่ หรือสาเหตุของตัวทารกเอง
ปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดภาวะนี้มีหลายสาเหตุ เช่น ในคุณแม่ที่อาจจะพบปัญหาจากการเจ็บป่วยบางอย่างที่มีผลกระทบไปยังการไหลเวียนของเลือดที่ไปที่ลูกก็จะไปกระตุ้นให้มีภาวะนี้เกิดขึ้นได้
อันตรายจากภาวะนี้
คลอดเกินกำหนด
ทารกคลอดวันที่ 11/02/65 เวลา 11.00 น. เพศชาย คลอด โดยวิธี S/C
มีผลกระทบต่อระบบทางเดินหายใจ และระบบไหลเวียนเลือด เด็กจะมีอาการหายใจหอบ เหนื่อย หายใจไม่สะดวก คือจะมีลักษณะเหมือนปอดอักเสบ เพราะว่าตัวขี้เทานี้มีลักษณะเหนียวมาก ถ้าเด็กสูดสำลักเข้าไปแล้ว โอกาสที่จะไปอุดตันทางเดินหายใจ ถุงลมเล็ก ๆ หรือระดับที่ลึกลงไปเรื่อย ๆ ในปอด
หลังคลอด 30 นาที ภาวะหายใจเหนื่อย ลักษณะทารก postterm (42Wk) ลอกทั้งตัว มีลักษณะเขียว O2 92-93% On O2 Box 5 Lpm Keep sat 95-100% DTX at ward 65 Keep 50-150
มารดา GDMA2 (Gestational Diabetes Mellitus) ได้รับ Insulin ฉีด RI 20-0-20 sc และ NPH 12 U sc hs หลังคลอดเจาะ DTX ทารกได้ DTX = 65% ทารกแรกคลอดน้ำหนัก 3,455 กรัม รับใหม่จาก LR มาด้วยอาการ เขียว มีภาวะหายใจเหนื่อย ออกซิเจนใน เลือด 92-93% RR = 54 ครั้ง/นาที BP = 72/34 mmHg. ให้การรักษาon o2 box 5 LPM Spo2 หลังให้o2 box = 98%
. สรุปข้อวินิจฉัยการพยาบาล
1 เกิดภาวะพร่องออกซิเจนเนื่องจากมีภาวะหายใจเร็ว
A : ทารกที่เกิดจากมารดาที่เป็นโรคเบาหวานจะมีการหลั่งสารลดแรงตึงผิว (surfactant) ลดลง เมื่อมารดาอยู่ใน ภาวะอินซูลินในเลือดสูง เมื่อทารกคลอด น้ำตาลที่เคยได้รับจากมารดาจะถูกตัดขาด ทารกจะมีระดับน้ำตาลใน เลือดที่ต่ำลง จะต้านฤทธิ์ของ cortisol จะมีการลดลงของสาร phospholipid และ surfactant proteinที่เคลือบ อยู่ที่ผนังถุงลมเพื่อทำหน้าที่ลดแรงตึงผิว เมื่อสารลดแรงตึงผิว (surfactant) ลดลง จะมีการพัฒนาของปอดทารก ช้ากว่าปกติ ทำให้การหายใจเข้าครั้งแรกของทารกต้องใช้แรงดันที่สูง เพื่อให้ได้อากาศเข้าเต็มปอดขยาย ทำให้ถุง ลมปอดแฟนแต่ละครั้งที่หายใจออกจากการที่ขาดสารลดแรงตึงผิว ส่งผลให้ปริมาตรของปอดและความยืดหยุ่น ลดลงทารกต้องใช้แรงในการหายใจเข้าแต่ละครั้งมาก เกิดความไม่สมดุลระหว่างการระบายอากาศ และ คาร์บอนไดออกไซด์คั่ง ในรายที่เป็นรุนแรง การกำซาบอากาศ ทำให้ทารกมีภาวะออกซิเจน วัตถุประสงค์ ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
O : มีอาการหายใจเร็ว นอนนิ่ง
O : อัตราการหายใจ 68 ครั้ง/นาที (ค่าปกติอยู่ในช่วง 40 – 60 ครั้ง/นาที)
O: ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ 18/02/2565
RDW 22.1 (ค่าปกติอยู่ในช่วง 12.3 – 15.1%)
Microcyte Few
Macrocyte Few
Anisocytosis 1+
Polychromatic 1+
O : on o2 Box 5 lpm
2 มีโอกาสได้รับสารอาหารไม่เพียงพอ เนื่องจากการทำงานของระบบดูดกลืนไม่มีประสิทธิภาพ
A : การได้รับสารอาหารไม่เพียงพออาจเกิดจากการทำงานของหูรูดระหว่างกระเพาะอาหารและหลอดอาหารยัง พัฒนาไม่เต็มที่ ทำให้มีภาวะไหลย้อนของอาหารได้ง่าย ซึ่งเป็นภาวะปกติของทารกแรกเกิดจนถึงอายุ 5 เดือนทำ ให้รูดปิดไม่สนิท มีผลให้ทารกแหวะนมเล็ก ๆ น้อยๆ หลังมื้อนม และอาจออกมาทางจมูกและปาก น้ำนมที่ออกมา อาจมีลักษณะเป็นลิ่มคล้ายเต้าหู้ เนื่องจากถูกกับน้ำย่อยในกระเพาะอาหารซึ่งเป็นขั้นตอนของการย่อย ซึ่งจะส่งผล ให้ทารกมีภาวะพร่องโภชนาการได้ วัตถุประสงค์ เพื่อให้ทารกได้รับสารอาหารที่เพียงพอต่อร่างกาย
O : ทารกไม่สามารถดูดนมเองได้ On OG
O : จาการคำนวณนมและสารน้ำที่ทารกได้รับในแต่ละวันพบว่าทารกได้รับสารอาหารไม่เพียงพอต่อความต้องการ ของร่างกาย
3 มีโอกาสเกิดภาวะ Hypoglycemia เนื่องจากมารดามี ภาวะเบาหวานขณะตั้งครรภ์
A : เนื่องจากขณะตั้งครรภ์มารดามีระดับน้ำตาลในเลือดสูงอยู่ตลอดเวลาจะมีการกระตุ้น beta cell ของตับอ่อน ให้มีการสร้างและหลั่งฮอร์โมนอินซูลินในระดับสูง (Hyperinsulinemia) ทำให้เมื่อทารกออกมานอกครรภ์จะไม่ได้รับ น้ำตาลผ่านทางรก ทำให้ทารกมีความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำได้
O: มารดามีภาวะเป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์ และประวัติใช้ยา insulin
O : หายใจเร็ว 62 ครั้ง/นาที (ค่าปกติอยู่ในช่วง 40 – 60 ครั้ง/นาที)
O : การวินิจฉัยโรค GDMA2
4 เสี่ยงติดเชื้อ เนื่องจากระบบภูมิคุ้มกันยังไม่สมบูรณ์
A : ทารกมีระบบภูมิคุ้มกันที่ยังพัฒนาได้ไม่เต็มที่ได้รับสารภูมิต้านทานหรือแอนติบอดี้ (Antibody) จากมารดามาปริมาณเล็กน้อย จะทำหน้าที่กำจัดสิ่งแปลกปลอมที่เข้ามาในร่างกายได้ไม่ดี ทำให้ทารกที่คลอดก่อนกำหนดจะสามารถติดเชื้อได้ง่าย
O: ลักษณะทารก postterm (42Wk) ลอกทั้งตัว มีลักษณะเขียว
O: ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
WBC Count 30.1 ค่าปกติ9-30
%Neutrophil 53.0 ค่าปกติ55-70
O :มีภาวะหายใจเหนื่อย หลังคลอด 30 นาที
5 พร่องกิจวัตรประจาวัน เนื่องจากเป็นทารกแรกเกิด
O : ทารก on Incubators Temp cortroi Set 30.5 Ari 30.4
O : on o2 box 5 LPM Spo2 Oxygen salutation = 99%
O : On IV 10%/DN/5 200ml rate 12.9 ml/hr ที่แขนขาว
O : ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ พยาบาลเป็นผู้ให้การดูแล ทั้งหมดตลอดระยะเวลาที่อยู่ในโรงพยาบาล