Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย, นายพงศกร ปานอ่อง, วิธีการที่ใช้สังเกต -…
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
1.การสังเกต (Observation)
หมายถึง การติดตามอย่างเอาใจใส่
-ใช้แบบตรวจสอบรายการ
-ใช้แบบมาตราส่วนประมาณค่า
-ใช้การบันทึกพฤติกรรม
ข้อดีของการสังเกต
-ช่วยเก็บข้อมูลจากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจริง
-ช่วยเก็บข้อมูลบางชนิดที่ผู้ศึกษาไม่เต็มใจบอก
-ช่วยเก็บรวมรวมข้อมูลด้วยวิธีการอื่นให้ครบถ้วนสมบูรณ์ยิ่งขึ้น
ข้อเสียของการสังเกต
-บางอย่างไม่สามารถรอให้เหตุการณ์เกิดขึ้นได้บ่อยๆ
-ไม่สามารถเก็บรวบรวมข้อมูลบางอย่างได้
-ไม่สามารถเก็บรวบรวมข้อมูลได้ครบถ้วน
-อาจได้ข้อมูลที่มีความน่าเชื่อถือน้อย
-ถ้าผู้ถูกสังเกตรู้ตัวจะไม่แสดงพฤติกรรมที่แท้จริงออกมา
ลักษณะของการสังเกตที่ดี
-มีจุดมุ่งหมายที่แน่นอน
-มีการวางแผนทุกครั้ง
-ข้อมูลควรเป็นเชิงปริมาณ
-ต้องมีการจดบันทึก
-ผู้สังเกตต้องเชี่ยวชาญ
-ควรตรวจสอบข้อมูล
ข้อเสนอแนะในการสังเกต
-ควรมีการตรวจสอบความถูกต้อง
-เตรียมแบบฟร์อมสังเกตให้ชัดเจน
-วางแผนในการสังเกตให้รอบคอบ
2.การสัมภาษณ์ (Interview)
หมายถึง การซักถามจุดมุ่งหมายระหว่างบุคคล 2 ฝ่าย
ลักษณะของการสัมภาษณ์ที่ดี
-ผู้สัมภาษณ์จะต้องกระตุ้นให้ผู้ถูกสัมภาษณ์อยากตอบ
-ต้องพยายามถามเพื่อให้ได้คำตอบที่ตรงจุด
-ผู้สัมภาษณ์จะต้องฟังมากกว่าผู้พูด
-ควรมีแบบฟร์อมเป็นคู่มือว่าจะถามอะไรบ้าง
ลำดับขั้นในการสัมภาษณ์
-เตรียมงาน
-การนัดหมาย
-การลงมือทำ
-การสรุปผล
-การติดตามประเมินผล
ข้อดีของการสัมภาษณ์
-ใช้ได้กับทุกคน
-มีลักษณะยืดหยุ่นได้มาก
-ช่วยให้ได้ข้อมูลเพิ่มเติม
-กระตุ้นผู้ให้สัมภาษณ์ให้ความร่วมมือดีกว่าการเขียนตอบ -สามารถนำสิ่งที่ได้มาเขียนรายงาน
ข้อเสียของการสัมภาษณ์
-ผู้สัมภาษณ์อาจไม่ให้ความร่วมมือในเรื่องส่วนตัว
-เสียเวลา
-ต้องใช้คนที่มีความรู้ในการสัมภาษณ์
-ข้อมูลอาจบิดเบือนจากความจริง
-อาจทำให้เกิดความเครียด
-ผู้สัมภาษณ์ไม่กล้าตอบต่อหน้าแต่กล้าตอบในแบบสอบถาม
ข้อเสนอแนะในการสัมภาษณ์
-ควรสัมภาษณ์ครั้งละ 1 คำถาม
-ทบทวนคำถามถ้าจำเป็น
-ทำให้ผู้ถูกสัมภาษณ์เข้าใจคำถาม
-ควรฟังคำตอบด้วยความตั้งใจ
-สังเกตท่าทาง น้ำเสียง
-ให้เวลาแก่ผู้ตอบ
-เลี่ยงการแนะนำคำตอบ
-ไม่แสดงอารมณ์โกรธ กลัว
-ยึดมั่นเป็นกลาง
-จดโน๊ตคำตอบต่างๆ
-ให้กลวิธีทักษะต่างๆ
-จดบันทึกสิงที่มีความสำคัญมาก
3.แบบสอบถาม (Questionnaire)
หมายถึง คำถามที่สร้างพื่อรวบรวมข้อมูลในด้านต่างๆ
ข้อเสนอแนะในการใช้แบบสอบถาม
-ไม่ควรใช้เวลานานในการตอบ
-คำนึงถึงผู้ตอบว่าเป็นใคร
-ควรวางแผนในการสร้าง
-ควรมีคำชี้แจงที่ทำให้ผู้ตอบสบายใจ
ลักษณะของแบบสอบถามที่ดี
-คำถามควรสั้นและชัดเจน
-คำถามต้องง่ายในการตอบ
-ต้องเห็นความสำคัญและความร่วมมือในการตอบ
-คำถามครอบคลุมคำตอบที่ต้องการ
-คำถามมีลักษณะยั่วยุ และน่าตอบ
-คำชี้แจงต้องชัดเจน
ข้อดีของแบบสอบถาม
-เป็นเครื่องมือที่สะดวก
-รวบรวมข้อมูลได้เร็ว
-ผู้ตอบพอใจมากกว่าการสัมภาษณ์
-ง่ายต่อการวิเคราะห์
-ความลำเอียงของผู้วิจัยมีน้อย
-มีเวลาในการตอบเพียงพอ
-แบบสอบถามถึงมือผู้ตอบเวลาใกล้เคียงกัน
ข้อเสียของแบบสอบถาม
-ผู้ตอบต้องอ่านออกเขียนได้เท่านั้น
-ผู้ตอบอาจจะไม่ได้ตั้งใจตอบ
-ได้รับการตอบกลับน้อย
-ใช้เวลาเตรียมนาน
-คำถามบางข้อไม่ชัดเจน
-คำถามต้องกระทัดรัด
-การตรวจสอบเรื่องความเชื่อมั่น
-ถ้อยคำและภาษาที่รัดกุมนั้นทำได้ยาก
-บางคนเบื่อเพราะได้รับแบบสอบถามบ่อย
โครงสร้างของแบบสอบถาม
-ข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องที่ถาม
-คำชี้แจง
-ข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องที่ถาม
ชนิดของแบบสอบถาม
-แบบปลายปิด
-แบบปลายเปิด
4.แบบทดสอบ (Test)
หมายถึง คำถามที่ชักนำให้ผู้ทดสอบแสดงพฤติกรรมท่วัดความสามารถทางสมอง
ประเภทของแบบทดสอบ
-แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์
-แบบทดสอบวัดความถนัด
-แบบทดสอบวัดบุคคลและสังคม
ข้อดีของแบบทดสอบ
-ใช้สะดวก เก็บข้อมูลได้เยอะ
-ใช้เป็นหลักฐานการวัดผล
ข้อเสียของแบบทดสอบ
-มีความคลาดเคลื่อน เพราะเป็นการวัดทางอ้อม
ข้อเสนอแนะในการใช้แบบทดสอบ
-พยายามใช้แบบทดสอบที่ใช้ได้ถูกต้องตรงกับข้อมูลที่ต้องการ
-สามารถแปลคะแนนได้ถูกต้อง
-สามารถควบคุมตัวแปรอื่นๆได้
-ข้อสอบดีต้องสนับสนุน
ลักษณะของเครื่องมือที่ดี
-มีความเที่ยงตรง
-เชื่อมั่นและเชื่อถือได้
-มีประสิทธิภาพ
-จำแนกแบ่งได้
นายพงศกร ปานอ่อง
6240120129
พุทธศาสนศึกษา
ครุศาสตร์ ชั้นปีที่ 3
วิธีการที่ใช้สังเกต