Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Endocrine System - Coggle Diagram
Endocrine System
การทำงานของฮอร์โมนไทรอยด์ (Thyroid hormones)
ชนิดของฮอร์โมน Amine hormone
Thyroxin หรือ Tetra-iodothyronine (T4)
Tri-iodothyronine (T3)
หน้าที่ ควบคุมการเจริญเติบโตของร่างกาย •ควบคุมอัตราการเผาผลาญสารอาหารต่างๆในร่างกาย (Basal metabolic rate) •ควบคุมอุณหภูมิกาย
อวัยวะเป้าหมาย Heart, GI tract, Brain, Bone, Muscle
โรค
T3 , T4 ↓ → Hypothyroidism ภาวะที่ต่อมไทรอยด์ทำงานลดลงทำให้การเผาผลาญของร่างกายน้อยลง
T3 , T4 ↑ → Hyperthyroidism ต่อมไทรอยด์ทำงานมากเกินไปทำให้การเผาผลาญของร่างกายเพิ่มขึ้น
Iodine↓ → Iodine Deficiency โรคคอพอก (Goiter)เป็นภาวะที่มีการโตขึ้นของต่อมไทรอยด์
แคลซิโทนิน (Calcitonin)
ชนิดของฮอร์โมน Peptide hormone
หน้าที่ ลดระดับแคลเซียมในเลือด
อวัยวะเป้าหมาย Parathyroid glands, Kidneys, Bone, GI tract
การทำงานของฮอร์โมนต่อมหมวกไต(Adrenocortical hormones)
Adrenal cortex
Zona fasciculata→ฮอร์โมนCortisol→รักษาสมดุลในระบบเมตาบอลิซึมของน้ำตาล(Glucose metabolism)
Zona reticularis → ฮอร์โมน Androgen → ควบคุมลักษณะทางเพศ (Masculinization)
Zona glomerulosa → ฮอร์โมน Aldosterone → รักษาสมดุลน้ำและเกลือแร่ (Na+ retention at Collecting ducts)
Adrenal medulla → Epinephrine & Norepinephrine → กระตุ้นการทำงานของระบบ Sympathetic nervous system
กลุ่มอาการคุชชิ่ง (Cushing'ssyndrome)
เน้ืองอกที่ต่อมใต้สมอง
กลุ่มอาการ
หน้ากลม (Moonface)
แก้มแดง (Plethora)
คอมีหนอกยื่น (Buffalo hump)
ผิวบาง (Thin skin)
หน้าท้องมีรอยแตก (Striae)
ภาวะขาดประจาเดือน (Amenorrhea)
เกิดแผลได้ง่ายและภูมิคุ้มกันตก
ฮอร์โมนพาราไทรอยด์ (Parathyroid hormones)
ชนิดของฮอร์โมน Peptide hormone
หน้าที่ เพิ่มระดับแคลเซียมในเลือด
อวัยวะเป้าหมาย Kidneys, Bone, GI tract
การทำงานของฮอร์โมนตับอ่อน (Pancreatic hormones)
Insulin → Bloodglucose↓
Glucagon → Bloodglucose↑
โรคเบาหวาน
Type I Diabetes Mellitus ตับอ่อนไม่สามารถสร้างอินซูลินได้ พบในเด็กอายุน้อยกว่า30ปี ผอม เกิดจากพันธุกรรม ต้องรักษาด้วยการฉีดอินซูลิน
Type II Diabetes Mellitus ตับอ่อนสามารถสร้างอินซูลินได้แต่มีภาวะดื้อต่ออินซูลิน พบในทุกวัย และมักมีภาวะอ้วน (เกิดจากพฤติกรรม)
Gestational and other DM มีภาวะขาดหรือดื้อต่ออินซูลิน เกิดภาวะHyperglycemiaในหญิงตั้งครรภ์ ผู้ทีมีอาการป่วยท่ีส่งผล กระทบต่อตับอ่อน
ทำงานของฮอร์โมนระบบสืบพันธ์ุ (Reproductive hormones)
เพศชาย (Male)
ควบคุมและกระตุ้นการเจริญเติบโตของร่างกาย
กระตุ้นกระบวนการ Spermatogenesis
กระตุ้นSecondary sex characteristics
Testes → Leydig cells → Testosterone
เพศหญิง(Female)
Ovary → Follicle → Estrogen
กระตุ้น Secondary sex characteristics
กระตุ้นกระบวนการ Ovulation
ควบคุมและกระตุ้นการเจริญเติบโตของร่างกาย
Ovary → Corpus luteum → Progesterone
กระตุ้นพัฒนาการของเต้านมและมดลูกเพื่อการรองรับการตั้งครรภ์
ฮอร์โมนที่จำเป็น
ฮอร์โมน Progesterone → รักษาความหนาของเยื่อบุมดลูก
ฮอร์โมนEstrogen→พัฒนาเต้านมและกล้ามเนื้อมดลูก
ฮอร์โมน hCG → กระตุ้น corpus luteum
ชนิดและการทำงานของฮอร์โมนต่อมใต้สมอง (Pituitary hormones and their control by Hypothalamus)
ต่อมใต้สมองส่วนหน้า (Anterior pituitary)
Prolactin (PRL)
ชนิดของฮอร์โมน Peptide hormone
อวัยวะเป้าหมาย ต่อมน้ำนม(Mammary glands)
หน้าที่ กระตุ้นการเจริญเติบโตควบคุมการทำงานของต่อมน้ำนม
Adrenocorticotropin (ACTH)
กระตุ้นการเจริญเติบโตและควบคุมการทำงานของต่อมหมวกไต
อวัยวะเป้าหมาย ต่อมหมวกไตชั้นนอก(Adrenalcortex)
ชนิดของฮอร์โมน Peptide hormone
Growth hormone (GH)
หน้าที่ กรนั้นกระบวนการต่างๆเพิ่มการเจริญเติบโตในร่างการ
อวัยวะเป้าหมาย เซลล์ไขมัน กระดูก กล้ามเนื้อ ประสาท ภูมคุ้มกัน และตับ
ชนิดของฮอร์โมน Protein hormone
โรค
GH↑ → Gigantism พบในเด็กเล็กเนื่องจากหลั่งGHมากกว่าปกติทำให้มีรูปร่างสูงใหญ่กว่าปกติ
GH↑ → Acromegaly ความผิดปกติของกระดูกตามใบหน้า นิ้วมือ นิ้วเท้า มีขนาดใหญ่กว่าปกติ
GH↓ → Pituitary dwarfism พบในวัยเด็ก ขาดGHทำให้ร่างกายเตี้ยแคระ
Thyroid-stimulating hormone (TSH)
ชนิดของฮอร์โมน Glycoprotein hormone
กระตุ้นการเจริญเติบโตและควบคุมการทำงานของไทรอยด์
อวัยวะเป้าหมาย ต่อมไทรอยด์
Adenohypophysis
Follicle stimulating hormonr (FSH)
ชนิดของฮอร์โมน Glycoprotein hormone
เพศชาย •
กระตุ้นการเจริญของอสุจิภายในอัณฑะทำให้มีการสร้างอสุจิ
เพศหญิง •
กระตุ้นการเจริญของไข่ในรังไข่ทำให้มีการพัฒนาไข่ให้สมบูรณ์
อวัยวะเป้าหมาย เพศชาย• Sertoli cells → Spermatogenesis •
เพศหญิง Follicle→Folliculargrowth
Luteinizing hotmone (LH)
ชนิดของฮอร์โมน Glycoprotein hormon
หน้าที่ เพศชาย กระตุ้นการสังเคราะห์ฮอร์โมนTestosterone •
เพศหญิงกระตุ้นการสังเคราะห์ฮอร์โมน Estrogen และการ
เจริญเติบโตของไข่ทำให้ไขสุก และมีการตกไข่
อวัยวะเป้าหมาย เพศชาย Interstitialcells/Leydigcells→Testosterone production
•เพศหญิง Follicle → Estrogen production → Ovulation
Interstitial cell-stimulating hormone (ICSH)
Melanocyte-stimulating hormone (MSH)
ชนิดของฮอร์โมน Peptide hormone
อวัยวะเป้าหมาย เซลลเ์มลาโนไซต์ (Melanocytes)
ทำหน้าที่สร้างเม็ดสีเมลานินบนผิวหนัง (Melanogenesis)
ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนหลัง(Posterior pituitary gland)
Oxytocin
ชนิดของฮอร์โมน Peptide hormone
กระตุ้นการดูดนม (Sucking reflex) การแตะสัมผัส ด้านจิตใจ
อวัยวะเป้าหมาย กล้ามเน้ือมดลูกและกล้ามมเน้ือรอบๆต่อมน้ำนม
Antidiuretic hormone (ADH)
ชนิดของฮอร์โมน Peptide hormone
หน้าที่ กระตุ้นการดูดน้ำกลับเพื่อรักษาสมดุลของน้ำ
อวัยวะเป้าหมาย ท่อไตรวม (Collecting duct)
บทนำระบบต่อมไร้ท่อ (Introduction to Endocrinology
การสังเคราะห์ฮอร์โมน (Hormone synthesis)
ชนิดของฮอร์โมน (Hormone classes)
เอมีน(Amines(A))
แคททีโคลามีน (Catecholamines(C))
ไทรอยด์ (Thyroid (Iodothyronines) (T))
เกิดจาการเปลี่ยนแปลงของกรอะมิโน (Modification of amino acids)
องค์ประกอบหลัก กรดอะมิโน Tryptophan หรือ Tyrosine
สเตียรอยด์ (Steroids (S))
เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของไขมันชนิดคอเลสเตอรอล (Modification of lipid cholesterol)
โปรตีน (Peptides and Protein (P&P))
การเปลี่ยนแปลงของกรดอะมิโนหลายตัวที่เชื่อมติดกันด้วยพันธะเคมี (Modification of multiple amino acids)
สังเคราะห์เหมือนกันกับโปรตีนชนิดอื่นๆในร่างกาย
คุณสมบัติทางสรีรวิทยาของฮอร์โมน (Hormone physiology features)
การสังเคราะห์ (Synthesis)
P&P, A→ สังเคราะห์ขึ้นมาและเก็บไว้ •S→สังเคราะห์และหลั่งตามความต้องการ
การขนส่ง (Transport)
P&P, C→ ขนส่งโดยอิสระไปตามการไหลเวียนเลือด •
S,T→ขนส่งไปโดยการจับกับโปรตีนตัวนำ(Carrierproteins)
การจับกับตัวรับ (Receptor binding)
P&P, C→ จับกับตัวรับบนผิวเซลล์ (Cell membrane receptors)•
S, T→ จับกับตัวรับที่อยู่ภายในเซลล์ (Intracellular receptors)
การตอบสนอง (Effects)
P&P,C→การเปลี่ยนแปลงโปรตีน (Protein modification) •
P&P, S, T→ การสังเคราะห์โปรตีน (Protein synthesis)
ฮอร์โมนเมลาโทนิน (Melatonin hormone)
ต่อมไพเนียล อยู่เหนือสมองส่วนกลางและอยู่หลังต่อโพรง สมองที่ 3 (Third ventricle)
หลั่งฮอร์โมน Melatonin ทำหน้าที่ควบคุมวงจรการตื่นและ การหลับ ของมนุษย์
ฮอร์โมนไทโมซิน (Thymosin hormones)
หลั่งฮอร์โมน Thymosin ทำหน้าที่พัฒนา T-cells และควบคุมการทำงานของระบบภูมิคุ้มกัน