Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วิทยาการคำนวณสำหรับการสอนวิทยาศาสตร์ - Coggle Diagram
วิทยาการคำนวณสำหรับการสอนวิทยาศาสตร์
แนวคิดเชิงคำนวณ
แบ่งปัญหาใหญ่เป็นปัญหาย่อย
การแบ่งปัญหาที่วุ่นวายและซับซ้อนออกเป็นปัญหาย่อยๆ
การคิดเชิงนามธรรม
แยกรายละเอียดที่จำเป็นในการหาคำตอบ ในการแก้ปัญหา
แนวคิดเชิงนามธรรม
การคัดกรองข้อมูลที่จำเป็น และไม่จำเป็นออกจากกัน
การออกแบบอัลกอริทึม
ประกอบไปด้วยรหัสลำลอง กับแผนผัง
การพิจารณารูปแบบ
หารูปแบบที่คล้ายกัน
กฏหมายน่ารู้
พ.ร.บ. ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
พ.ร.บ.การพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ฉบับพ.ศ.2550 และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2560
สิทธิของเรา
การกำหนดสิทธิของผลงานในรูปแบบต่างๆ
การระบุสัญลักษณ์
การใส่ลายน้ำ
การใส่ชื่อ
ระบุเงื่อนไขในการอนุญาตให้ผู้อื่นนำไปใช้
ถูกต้อง ปลอดภัยใช่เลย
แนวทางปฏิบัติเมื่อพบเนื้อหาที่ไม่เหมาะสม
ไม่ส่งต้อข้อมูล ไม่เผยแพร่
ปฏิเสธการรับข้อมูล
ในกรณีที่ไม่สามารถจัดการหรือแก้ไขเองได้ให้บอกผู้ปกครอง
แจ้งผู้เกี่ยวข้องที่ดูแลเว็บไซต์
ผลกระทบการเผยแพร่ข้อมูลที่ไม่เหมาะสม
ผลกระทบต่อผู้เผยแพร่ข้อมูล
ผลกระทบที่ผู้อื่นได้รับจากการเผยแพร่ข้อมูลที่ไม่เหมาะสม
มารยาทในการสื่อสารอีเมลล์
ระบุหัวเรื่อง ชื่อผู้ที่จะสื่อสาร และระบุตัวตนที่ชัดเจน
ใช้ภาษาสุภาพ ชัดเจน เหมาะสม
ใช้อักษรหนากับข้อความที่ต้องการเน้น
เนื้อหาในอีเมลล์ไม่ควรมีข้อความแสดงเจตนาเสื่อมใส
หลีกเลี่ยงการแนบไฟล์ขนาดใหญ่
ไม่ส่งอีเมลล์แปลกปลอม
มารยาทในการสื่อสารแชท
ไม่ใช้ข้อความที่อาจก่อให้เกิดปัญหา
หลีกเลี่ยงการใช้อารมณ์
ไม่ใช้ถ้อยคำยั่วยุ
ไม่สวมรอยโดยการใช้ชื่อผู้อื่น
แนวคิดเชิงนามธรรม
ตัวอย่างแนวคิดเชิงนามธรรม
ทำไมสิ่งนี้คือปากกา
เพราะมีหัวปากกา มีน้ำหมึก มีด้ามจับ
เป็นองค์ประกอบหนึ่งของแนวคิดเชิงคำนวณ
ใช้กระบวนการคัดแยกคุณลักษณะออกจากรายละเอียดปลีกย่อย
การแก้ปัญหา
รหัสลำลอง
การเก็บค่าตัวแปร
ตัวแปรสามารถเปลี่ยนค่าได้
รูปแบบการเขียน
เขียนเป็นภาษาพูด
เขียนในรูปแบบคล้ายโปรแกรม
การกำหนดค่าตัวแปร
ใช้ตัวแปรแทนชื่อข้อมูล สามารถนำมาใช้ได้ง่าย
รหัสลำลองเป็นการใช้คำอธิบายขั้นตอนอย่างชัดเจนในการแก้ไขปัญหา
รู้เท่าทัน ฉันปลอดภัย
การรู้เท่าทันสื่อ
ความสามารถในการป้องกันตนเองจากการถูกโน้มน้าวด้วยเนื้อหาเท็จ
ผู้รับสื่อตระหนักถึงความสำคัญ
ผู้รับสื่อมีทักษะการรับสื่อแบบวิพากย์ สามารถวิเคราะห์ ตั้งคำถาม
สามารถวิเคราะห์สื่อในเชิงสังคม
การนำสื่อไปใช้ให้พิจารณาประเด็นต่อไปนี้
สื่อที่นำเสนอมีที่มาอย่างไร
ใครเป็นเจ้าของ
สื่อนั้นใครผลิต
ควรเชื่อสื่อนั้นหรือไม่
มีความเชื่ออย่างไรบ้าง
ผู้สร้างและผู้เผยแพร่หวังผลประโยชน์ใด
ข้อควรระวังในการซื้อแอพพลิเคชัน ไอเทมหรือบริการ
ระวังการคลิ๊กลิงค์โฆษณา
เมื่อมีการชำระเงินผ่านบัตรเครดิต ระบบจะบัทึกข้อมูลเก็บไว้
การสมัครบริการต่างๆ ควรศึกษาให้ชัดเจนเนื่องจากมีการเก็บรายเดือนอัตโนมัติ
ข่าวลวงและผลกระทบ
ส่งต่อกันผ่านเครือข่ายโดยไม่ระบุที่มาที่ชัดเจน
สร้างเรื่องราวอันเป็นเท็จเผื่อให้เกิดจุดสนใจ
กระตุ้นความโลภของผู้คน โดยการใช้เนื้อหาข่าวปลอม
การทำธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์
รูปแบบ
การกระทำโดยตรงระหว่างผู้ซื้อและผู้ขาย
การกระทำธุรกรรมโดยผ่านผู้ให้บริการ
ภัยคุกคามจากการใช้เทคโนโลยี
การคุกคามโดยใช้จิตวิทยา
การคุกคามด้วยเนื้อหาที่ไม่เหมาะสม
รูปแบบการป้องกันภัยคุกคาม
ตรวจสอบจากผู้รู้
ตรวจสอบจากสิ่งที่ผู้ใช้มี
ตรวจสอบจากสิ่งที่เป็นส่วนหนึ่งของผู้ใช้
การศึกษาเงื่อไขการใช้งาน
ระบุเงื่อนไขการใช้งานและข้อตกลง
ลิขสิทธิ์
สัญลักษณะ
ความเป็นส่วนตัว
ความเ้ป็นส่วนตัว คือสิทธิพื้นทางของการเป็นมนุษย์
แนวทางการใช้งานไอทีอย่างปลอดภัย
ไม่ใช้บัญชีร่วมกับผู้อื่น
ศึกษาเงื่อนไข และข้อตกลง
มีความรู้ความเข้าใจกฎกติกา และมารยาท
หลีกเลี่ยงการใช้เว็บไซต์ที่ไม่เหมาะสม
ติดตั้งซอฟต์แวร์ที่จำเป็นเท่านั้น
การประเมิณความน่าเชื่อถือของข้อมูล
ใช้หลักการ PROMPT
Presentration
การนำเสนอข้อมูลต้องชัดเจน
Relevance
พิจารณาความสัมพันธ์ของข้อมูลที่ต้องการ
Provenance
มีการระบุแหล่งที่มาของข้อมูลอย่างชัดเจน
Objectivity
ข้อมูลที่ใช้ต้องมีจุดประสงค์ที่ชัดเจน
Method
มีการวางแผนเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบ
Timeliness
ข้อมูลต้องเป้นปัจจุบัน และทันสมัย
การตรวจสอบความน่าเชื่อถือของแหล่งที่มาของข่อมูล
ต้องบอกวัตถุประสงค์ของข้อมูล
การนำเสนอเนื้อหาต้องตรงตามวัตถุประสงค์
มีการระบุชื่อผู้ให้ข้อมูล
มีการอ้างอิงถึงแหล่งที่มาหรือต้นตอของข้อมูล
มีการระบุวันเวลาในการเผยแพร่
ไม่ขัดต่อกฏหมาย
มีการให้อีเมลเพื่อติดต่อผู้ดูแล
มีข้อความเตือนผู้อ่าน
การใช้ลิขสิทธิโดยชอบธรรม
การใช้ผลงานที่มีลิขสิทธิ
ต้องได้รับอนุญาตจากเจ้าของผลงานก่อน
มีข้อยกเว้นที่ไม่ต้องขออนุญาตคือการใช้ลิขสิทธิที่เป็นะรรม
หลักการพิจารณาในการใช้ Fair use
ผู้ใช้ต้องคำนึงถึงระดับการสร้างสรรคผลงานเช่นนวนิยายไม่ควรนำไปใช้
ผู้นำไปใช้ต้องไม่แสวงผลทางการค้าหรือกำไร ไม่มีเจตนาทุจริตต่อสังคม
การนำข้อมูลไปใช้ในปริมาณที่มากเกินไปถือว่าไม่เป็นธรรม
การใช้ผลงานของผู้อื่นต้องไม่ขัดต่อการแสวงหาผลประโยชน์
ตัวอย่างการใช้สิทธิที่เป็นธรรม
การวิจัยหรือศึกษางานโดยไม่แสวงหาผลกำไร
ดัดแปลงเพื่อการสอนแจกจ่าย
การคัดลอกบทความโดยย่อ และมีการอ้างอิง
การทำโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ไม่แสวงกำไร
ตัวอย่างการใช้สิทธิที่ไม่เป็นธรรม
ผู้สอนถ่ายเอกสารและนำไปขาย
ดาวน์โหลดเพลงผู้อื่นไปขาย
ใช้งานโปรแกรมอย่างต่อเนื่องแม้ว่าจะหมดอายุ
ผู้นำไปใช้มีเจตนาทุจริต
เหตุผลวิบัติ
เหตุผลวิบัติที่เป็นทางการ
เกิดจากการใช้เหตุผลที่เกิดจากหลักตรรกะไม่ถูกต้อง แต่เขียนในรูปแบบทางการจึงมีความน่าเชื่อถือ
เหตุผลวิบัติที่ไม่เป็นทางการ
การอ้างถึงตัวบุคคลโดยไม่สนใจเนื้อหาสาระของข้อความ
การให้เหตุผลโดยอ้างอิงถึงว่ามีพฤติกรรมขัดแย้งกับสิ่งที่พูดเพราะสื่งที่พูดเชื่อถือไม่ได้
การให้เหตุผลโดยอ้างอิงถึงความน่าสงสาร แล้วเปลี่ยนเป็นความถูกต้อง
การให้เหตผลถึงคนส่วนใหญ่ปฏิบัติเหมือนกันดังนั้นจึงถูกต้อง
การให้เหตผลเกินจริง
การให้เหตผลโดยเบี่ยงประเด็นการโต้แย้งของผู้อื่นเป็นอีกเรื่องนึงก่อนค่อยโจมตี