Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรุปสาระสำคัญเนื้อหาที่เรียน, สมาชิกในกลุ่ม - Coggle Diagram
สรุปสาระสำคัญเนื้อหาที่เรียน
การอ่าน
การพัฒนาทักษะการอ่านแบบ SQ3R
Q (Question) หมายถึง การตั้งคำถามเพื่อค้นหาจุดมุ่งหมาย และความหมายในข้อเขียน
3R ประกอบด้วย Read(อ่าน) Recite(จดจำ) Review(คิดทบทวนและปรับความคิดของตนเอง)
S (survey) หมายึง การอ่านสำรวจเนื้อหาอย่างคร่าว ๆ การสำรวจเนื้อหาอย่างกว้าง ๆ ทำให้ทราบรายละเอียดขอบเขตของเรื่องที่อ่าน
การอ่านจับใจความสำคัญ
หมายถึง ความคิดอันเป็นแก่นหรือหัวใจของเรื่องที่ผู้เขียนมุ่งสื่อให้ผู้อ่านรับทราบ ซึ่งอาจเป็นข้อเท็จจริง และความคิดเห็น หรืออย่างใดอย่างหนึ่ง
ลักษณะของใจความสำคัญ
1.ใจความสำคัญเป็นส่วนที่ผู้เขียนมุ่งเน้นมากที่สุด
2.ใจความสำคัญอาจปรากฏเป็นประโยคชัดเจน หรือไม่ปรากฏให้เห็ยชัดเจย แต่แฝงอยู่ในเนื้อความ
3.ใจความสำคัญอาจปรากฏหลายแห่ง ผู้อ่านจำเป็นต้องแยกประเด็นแล้วเชื่อมโยงเข้าหากัน
ประเภทของการอ่าน
การอ่านแบบกวาดสายตา คือ เป็นการอ่านโดยใช้สายตามองผ่านตัวหนังสืออย่างรวดเร็ว เพื่อหาข้อมูลที่ต้องการ อย่างเฉพาะเจาะจง ไม่สนใจข้อมูลส่วนอื่นที่ไม่ต้องการ
การอ่านคร่าว ๆ คือ การอ่านให้ได้ความหมายโดยรวม เริ่มตั้งแต่ชื่อเรื่่อง ชื่อผูแต่ง เลขมาตรฐานหนังสือ ครั้งที่พิมพ์ จะทำให้หราบเนื้อหาในภาพรวม
การอ่านอย่างละเอียด คือ การอ่านอย่างพิจารณาเพื่อค้นหาความหมายทำความเข้าใจให้ชัดเจนทุกประเด็น
หมายถึง การรับสารด้วยภาษาเขียน
รูปแบบการเขียนบรรณานุกรม
หมายถึง ข้อความที่ประกอบหรือ ระบุไว้ในส่วนท้ายเพื่อแสดงหลักฐานความน่าเชื่อถือ
ความสําคัญของ
1.เพื่อแสดงว่ารายงานฉบับบนั้นเป็นรายงานที่มีเหตุผล สาระน่าเชื่อถือได้
เพื่อแสดงว่าผู้เขียนรายงานเคารพสิทธิและความคิดเห็นของผู้แต่งหนังสือที่ได้นํามาใช้ประกอบการเขียนนั้น
3.เพื่อเป็นแนวทางให้ผู้ที่สนใจได้ศึกษารายละเอียด หรือข้อเท็จจริงที่นำมาประกอบการเขียนเพิ่มเติมได้อีก
4.เพื่อตรวจสอบหลักฐานดั้งเดิมที่ผู้เขียนนำมาประกอบในรายงาน
วิธีการและข้อปฏิบัติ
การเขียนบรรณานุกรมของสิ่งพิมพ์ สามารถหาข้อมูลได้จากหน้าปกใน เนื่องจากมีข้อมูลที่จำเป็นสําหรับการเขียน :บรรณานุกรม หากข้อมูลที่ต้องการมีไม่ครบ ให้ใช้ข้อมูลจากปกนอก หรือจากส่วนอื่นของสิ่งพิมพ์ :
การเขียนบรรณานุกรม ให้เริ่มอักษรตัวแรกของบรรณานุกรมที่ระยะชิดขอบ หรือห่างจากขอบกระดาษด้านซ้าย 1.5 นิ้ว ถ้าข้อความบรรทัดแรกไม่จบ ให้ขึ้นบรรทัดที่ 2, 3 ใหม่ โดยเริ่มที่ระยะย่อหน้า
ในบรรณานุกรม ให้เรียงตามลำดับอักษรตัวแรกของรายการนั้น ๆ ตามแบบพจนานุกรม
ภาษาและวัฒนธรรม
หมายถึง สิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น ได้แก่ ประเพณี ความคิด ความเชื่อต่าง ๆ สิ่งที่ทำให้เจริญงอกงามในหมู่คณะ
ภาษาสะท้อนวัฒนธรรม
1.ภาษาไทยมีระเบียบการใช้ถ้อยคำให้เหมาะสมกับฐานะของบุคคล
2.ภาษาไทยมีวิธีการใช้ถ้อยคำและข้อความที่เปลี่ยนไปให้เหมาะสมตามความสำพันธ์ระหว่างบุคคลมีการใช้คำสรรพนามทั้งที่แทนตัวกับคู่สนทนา และผู้ที่กล่าวถึง
3.ภาษาไทยมีศัพท์แสดงความละเอียดในการกล่าวถึงเรื่องใกล้ตัว และมีศัพท์เฉพาะในเรื่องต่างๆ จำนวนมาก
4.ภาษาไทยมีการสร้างคำขึ้นจากภาษาต่างๆ
5.ภาษาไทยมีถ้อยคำสำนวนแสดงการเปรียบเทียบจำนวนมาก แสดงให้เห็นความประณีตละเอียดอ่อนในการใช้ภาษา ความเป็นคนเจ้าบทเจ้ากลอน
ภาษาสัมพันธ์กับวัฒนธรรม
การใช้คำราชาศัพท์
ระดับภาษา
การใช้คำรื่นหู
ภาษามาตรฐาน
คือ ภาษาราชการ เพราะได้รับการกำหนดให้ใช้ตรงกันทั้งประเทศ สำหรับในประเทศไทย
ภาษาถิ่น
ภาษาที่ใช้พูดกันในท้องถิ่นต่างๆ สำหรับภาษาถิ่นในประเทศไทย แบ่งกว้าง ๆ ตามสภาพภูมิศาสตร์ ภาษาเหนือ ภาษาอีสาน ภาษาใต้ ภาษาภาคกลาง
ภาษากับการปลูกฝังคุณธรรม
ลักษณะเด่นของวัฒนธรรมไทย ปรากฏหลายด้าน ทั้งด้านจิตใจ ศิลปกรรม ระเบียบ ประเพณี สถาบันสังคม ด้านการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร เช่น การสนทนา การพูดในโอกาสต่าง ๆ การใช้ภาษาของสื่อมวลชนเพื่อการสั่งสอนเพื่อการสังสรรค์
สมาชิกในกลุ่ม
นางสาวนุรไอนี ยีสะลาน 6420710179 คณะรัฐศาสตร์ เอกการปกครอง
นายฟิดตรี บินมะอิลา 6420710322 คณะรัฐศาสตร์ เอกการปกครองท้องถิ่น
นางสาวเบญจมาภรณ์ ทองนอก 6420710316 คณะรัฐศาสตร์ เอกการปกครองท้องถิ่น
นางสาวอริสา เพชรกาฬ 6420710354 คณะรัฐศาสตร์ เอกการปกครองท้องถิ่น