Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผู้ป่วยหญิงไทย อายุ 66 ปี, เป็นโรคที่มีอาการอักเสบเรื้อรังของหลอดลม,…
ผู้ป่วยหญิงไทย อายุ 66 ปี
CC : หายใจเหนื่อยหอบ ไอมีเสมหะ 7 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล
PI : 4 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล หายใจเหนื่อยหอบ ไอมีเสมหะ พ่นยาแบบชนิดสูดอาการเหนื่อยหอบไม่ดีขึ้น อาเจียน 2 ครั้ง ปวดแน่นท้อง ญาติจึงนำส่งโรงพยาบาล
DX : Asthmatic attack with DM
เป็นโรคที่มีอาการอักเสบเรื้อรังของหลอดลม
ทำให้หลอดลมไวต่อการกระตุ้นต่างๆมากกว่าคนปกติ
เกิดการหดเกร็งของกล้ามเนื้อหลอดลม
เยื่อบุผิวบวมขึ้น
หลั่งน้ำมูกในหลอดลมเพิ่มขึ้น
หลอดลมตีบแคบลง
แน่นหน้าอก
อาการหอบเป็นๆหายๆ
อ่อนเพลีย
หายใจเหนื่อยหอบ
2 more items...
พันธุกรรม
สารก่อภูมิแพ้ เช่น ไรฝุ่น ขน
ควันบุหรี่
การติดเชื้อไวรัส แบคทีเรียและเชื้อราในอากาศ
ความเครียด
การติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ เช่น เป็นไข้หวัด ไซนัสอักเสบ
น้ำหนักเกิน
ความอ้วน
ขาดการออกกำลังกาย
พันธุกรรม
รับประทานอาหารจำพวกแป้งเยอะ
ภาวะที่ร่างกายมีน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ
เนื่องจากขาดฮอร์โมนอินซูลิน
กระบวนการดูดซึมน้ำตาลในเลือดให้เป็นพลังงานของเซลล์ในร่างกายมีความผิดปกติ
จนเกิดน้ำตาลสะสมในเลือดปริมาณมาก
หิวบ่อย กินจุ
น้ำหนักตัวลดลง
ปัสสาวะบ่อยขึ้น
ตาพร่ามัว
อ่อนเพลีย คลื่นไส้อาเจียน
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลข้อที่ 2
มีภาวะระดับน้ำตาลในเลือดสูง
จึงต้องได้รับอินซูลิน
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลข้อที่ 3
เสี่ยงต่อภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำเนื่องจากได้รับอินซูลินเพื่อลดระดับน้ำตาลในเลือด
S : -
O : ผู้ป่วยได้รับ Regular Insulin ต่อเนื่อง 2 วัน เฉลี่ยได้รับยา 8 ยูนิต ตามแผนการรักษา
วัตถุประสงค์
เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ
เกณฑ์การประเมิน
ผู้ป่วยมีความรู้สึกตัวดี
ไม่มีอาการของภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ เช่น เหงื่อออก
ตัวเย็น หมดสติ
ระดับน้ำตาลในเลือดมาก 70 mg/dl
v/s อยู่ในเกณฑ์ปกติ คือ BT = 36.5-37.4 องศาเซลเซียส
PR = 60-100 ครั้ง/นาที
RR = 16-24 ครั้ง/นาที
BP = 90-140/60-90 mmHg
กิจกรรมการพยาบาล
1 แดูแลให้ได้รับ 50% glucose 50 ml iv slow push stat เพื่อให้สมองได้รับกลูโคสที่เพียงพอเพื่อป้องกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นกับสมอง ผลข้างเคียง สับสน เวียนศรีษะ
มือเท้าบวม
2 สังเกตระดับความรู้สึกตัวและอาการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วยหลังฉีด Regular Insulin เช่น ซึม กระวนกระวาย
เพื่อช่วยเหลือผู้ป่วยได้ทัน
3 วัดสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมงเพื่อประเมินอาการเปลี่ยนแปลงและวางแผนช่วยเหลือได้ทันท่วงที
4 ติดตามผลระดับน้ำตาลในเลือดทุก 4 ชั่วโมงเพื่อประเมินระดับน้ำตาลในเลือด
5 แนะนำญาติเฝ้าระวังการเกิดอาการน้ำตาลในเลือดต่ำซ้ำโดยสังเกตอาการผู้ป่วย เช่นมึนงง ปวดศีรษะ ตาพร่ามัว พูดไม่ชัด เหงื่อออก ตัวเย็น ถ้ามีอาการดังกล่าวควรรีบแจ้งพยาบาลเพื่อสามารถช่วยเหลือผู้ป่วยได้ถูกต้อง
1 more item...
S : ผู้ป่วยบอกว่ามีอาการอ่อนเพลีย อาเจียน 2 ครั้ง
O : ผลระดับน้ำตาลในเลือด 186 mg/dl
วัตถุประสงค์
เพื่อลดระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในระดับปกติ
เกณฑ์การประเมิน
ระดับน้ำตาลในเลือดอยู่ในเกณฑ์ 70-100 mg/dl
ไม่มีอาการอ่อนเพลีย คลื่นไส้ อาเจียน เหงื่อออก ตัวเย็น
v/s อยู่ในเกณฑ์ปกติ คือ BT = 36.5-37.4 องศาเซลเซียส
PR = 60-100 ครั้ง/นาที
RR = 16-24 ครั้ง/นาที
BP = 90-140/60-90
กิจกรรมการพยาบาล
1 ดูแลให้ยาลดระดับน้ำตาล Regular Insulin 10 u sc stat เพื่อลดระดับน้ำตาลในเลือด ผลข้างเคียง ปากแห้ง ไอกลืนลำบาก ผิวหนังซีด
2 สังเกตระดับความรู้สึกตัว และสังเกตภาวะน้ำตาลในเลือดสูงของผู้ป่วย เช่น ซึม กระวนกระวาย ชัก หรือหมดสติน้ำหนักลด อ่อนเพลีย คลื่นไส้ อาเจียน
3 วัดสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง เพื่อประเมินอาการเปลี่ยนแปลงและวางแผนช่วยเหลือได้ทันท่วงที
4 ติดตามผลระดับน้ำตาลในเลือดทุก 4 ชั่วโมง
เพื่อประเมินระดับน้ำตาลในเลือด
5 แนะนำผู้ป่วยควรหลีกเลี่ยงอาหารเครื่องดื่มที่มีน้ำตาลเช่น น้ำอัดลม ขนมหวาน ผลไม้เชื่อม ควรรับประทานอาหารที่ให้พลังงานต่ำมีกากใยมาก เช่นผักใบเขียวทุกชนิด เพื่อควบคุมระดับน้ำตาล ให้ได้รับสารอาหารและพลังงานที่เพียงพอ แต่ไม่เกินความต้องการของร่างกาย
การประเมินผล
ระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยอยู่ที่ 110 mg/dl
ไม่มีอาการอ่อนเพลีย คลื่นไส้ อาเจียน
v/s BT = 36.9 องศาเซลเซียส
PR = 80 ครั้ง/นาที
RR = 19 ครั้ง/นาที
BP = 125/80 mmHg
ผู้ป่วยมีความรู้สึกตัวดี ไม่มีอาการซึม กระวนกระวาย
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลข้อที่ 5
ผู้ป่วยขาดความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติตัวเมื่อกลับบ้าน
S : ผู้ป่วยบอกว่าไม่รู้ว่าหลังกลับบ้านต้องปฏิบัติตัวอย่างไร
O : สีหน้ามีความวิตกกังวล
วัตถุประสงค์
ผู้ป่วยมีความรู้ความเข้าใจและสามารถดูแลตนเองได้อย่างถูกต้องเมื่อต้องออกจากโรงพยาบาล
เกณฑ์การประเมิน
ผู้ป่วยสามารถอธิบายเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวเมื่อกลับบ้านได้อย่างถูก
กิจกรรมการพยาบาล
1 แนะนำผู้ป่วยเลือกรับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่เหมาะกับโรค หลีกเลี่ยงอาหารที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพเลือกอาหารที่มีเส้นใยสูง เช่นข้าวกล้อง ขนมปังโฮลวีต ผักหลากสี และผลไม้ที่ไม่หวานจัดสำหรับผลไม้ควรรับประทานในปริมาณที่พอเหมาะไม่ควรปรุงรสเค็มจัดหรือหวานจัดจนเกิน
2 เน้นย้ำให้ครอบครัวพาผู้ป่วยมาตรวจตามนัดทุกครั้ง
3 ส่งเสริมฟื้นฟูสภาพด้านร่างกายและจิตใจตลอดจนป้องกันภาวะแทรกซ้อนต่างๆส่งเสริมการทำกิจวัตรประจำวันโดยไม่ให้ผู้ป่วยเหนื่อยจนเกินไป
4 แนะนำผู้ป่วยห้ามหยุดยาเอง หลีกเลี่ยงสิ่งที่ทำให้เกิดอาการหอบหืดและนำยาพ่นติดตัวอยู่
5 การจัดการสิ่งแวดล้อมให้เหมาะกับสุขภาพของผู้ป่วยหลีกเลี่ยง การปูพรม ติดม่าน หรือมีตุ๊กตาหลายตัว
6 แนะนำเรื่องยา คือ ventolin มีหน้าที่ป้องกันรักษาอาการหายใจมีเสียง wheezing หายใจขัด หายใจลำบาก แน่นหน้าอก ผลข้างเคียง มือสั่น ใจสั่น หัวใจเต้นเร็ว
และยา Berodual เป็นยาขยายหลอดลม ใช้ป้องกันรักษาอาการที่เกิดจากทางเดินหายใจ ตีบแคบ ผลข้างเคียง กล้ามเนื้อสั่น กระสับกระส่าย ปากแห้ง
7 แนะนำผู้ป่วยรับประทานน้ำวันละ 2-3 ลิตร
8 เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยได้ระบายและซักถามข้อสงสัยต่างๆเพื่อคลายความสงสัย และผู้ป่วยมีความเข้าใจในการปฏิบัติตัวมากขึ้น
การประเมินผล
ผู้ป่วยสามารถอธิบายการปฎิบัติตัวเมื่อกลับบ้านได้อย่างถูกต้อง
ผู้ป่วยมีความวิตกกังวลลดลง