Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบต่อมไร้ท่อ - Coggle Diagram
ระบบต่อมไร้ท่อ
ชนิดและการทำงานของฮอร์โมนต่อมใต้สมอง
ฮอร์โมนต่อมใต้สมองจาก Pituitary Gland และ Hypothalamus
ต่อมใต้สมอง (Pituitary Gland) หรือ Hypophysisจัดเป็ นส่วนหนึ่งของ Diencephalon
มีลักษณะเป็นต่อมรูปไข่สีน้ำตาลแดง
วางอยู่ที่แอ่งของกระดูกSphenoid ที่Anterior and inferior to the Thalamus
ต่อมนี้ถูกเชื่อมอยู่กับส่วนของ Hypothalamus โดยอาศัยก้าน Infundibulum
แบ่งเป็น 2 ส่วน คือ ด้านหน้าและด้านหลัง
ฮอร์โมนกระตุ้นการเจริญเติบโต
Protein hormone
มีหน้าที่กระตุ้นกระบวนการต่าง ๆ ที่ส่งผล ในการเพิ่มการเจริญเติบโตของเซลล์ร่างกาย
โรคที่เกิดจากความผิดปกติของฮอร์โมนกระตุ้นการเจริญเติบโต
GH↑ → Acromegaly
GH↓ → Pituitary dwarfism
GH↑ → Gigantism
ฮอร์โมนกระตุ้นต่อมไทรอยด์
Glycoprotein hormone
มีหน้าที่กระตุ้นการเจริญเติบโตและควบคุม การทำงานของต่อมไทรอยด์
ฮอร์โมนกระตุ้นต่อมหมวกไต
Peptide hormone
มีหน้าที่กระตุ้นการเจริญเติบโตและควบคุมการทำงานของต่อมหมวกไต
ฮอร์โมนเพศ
Glycoprotein hormone
เพศชายกระตุ้นการเจริญของอสุจิภายในอัณฑะทำให้มีการสร้างอสุจิ
เพศหญิงกระตุ้นการเจริญของไข่ในรังไข่ทำใหม่มีการพัฒนาไข่ให้สมบูรณ์
ฮอร์โมนกระตุ้นต่อมน้ำนม
Peptide hormone
มีหน้าที่กระตุ้นการเจริญเติบโตและ ควบคุมการทำงานของต่อมน้ำนม
ฮอร์โมนกระตุ้นเซลล์เม็ดสี
Peptide hormone
มีหน้าที่กระตุ้นการการสร้างเม็ดสี
เมลานินบนผิวหนัง
ฮอร์โมนออกซิโทซิน
Peptide hormone
มีหน้าที่กระตุ้นการหลั่งน้ำนม, กระตุ้นการคลอด
ฮอร์โมนควบคุมสมดุลน้ำในร่างกาย
Peptide hormone
มีหน้าที่กระตุ้นการดูดน้ำกลับเพื่อรักษาสมดุลของน้ำ
ชนิดของฮอร์โมนแต่ละชนิด
เอมีนฮอร์โมน
เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของกรดอะมิโน
เปปไทด์และโปรตีนฮอร์โมน
เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของกรดอะมิโนหลายตัวที่เชื่อมติดกันด้วยพันธะเคมี
กระบวนการสังเคราะห์เหมือนกัน
กับโปรตีนชนิดอื่นๆในร่างกาย
สเตียรอยด์ฮอร์โมน
เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของไขมันชนิดคอเลสเตอรอล
ชนิดและการทำงานของฮอร์โมนไทรอยด์
ต่อมไทรอยด์
กลุ่มเซลล์ที่จัดตัวเป็นวงรูปผีเสื้อ
มีสีน้ำตาลเพราะมีเลือดมาเลี้ยงมาก
วางตัวทางด้านในผิวทาบไปกับกล่องเสียงและหลอดลม
ประกอบด้วยกลีบซ้ายและกลีบขวา ส่วนคอดเรียกว่า Isthmus
ชนิดของฮอร์โมน
Amine hormone
มีหน้าที่ควบคุมการเจริญเติบโตของร่างกาย
มีหน้าที่ควบคุมอุณหภูมิกาย
Peptide hormone
มีหน้าที่ลดระดับแคลเซียมในเลือด
โรคที่เกิดจากความผิดปกติของฮอร์โมนไทรอยด์
โรคคอพอก
ภาวะที่ต่อมไทรอยด์ทำงานลดลง
ทำให้การเผาผลาญของร่างกายน้อยลง
ภาวะที่ต่อมไทรอยด์ทำงานมากเกินไป
ทำให้การเผาผลาญของร่างกายเพิ่มขึ้น
ชนิดและการทำงานของฮอร์โมนไทโมซิน
ต่อมอยู่ระหว่างกระดูกหน้าอกกับหลอดเลือด Aorta
วางตัวอยู่ด้านหน้าและปกคลุมอยู่ทางด้านบนของหัวใจ
ประกอบด้วย 2 lobes คือ Right lobe และ Left lobe
ชนิดและการทำงานของฮอร์โมนพาราไทรอยด์
ชนิดของฮอร์โมน
Peptide hormone
มีหน้าที่ เพิ่มระดับแคลเซียมในเลือด
ชนิดและการทำงานของฮอร์โมนต่อมหมวกไต
ต่อมหมวกไต
กลุ่มอาการคุชชิ่ง
สาเหตุมักเกิดจากการมีเนื้องอกที่ต่อมใต้สมองทำให้มีการสร้าง ACTH ไปกระตุ้น Adrenal cortex (Zona fasciculata)อย่างต่อเนื่อง
กลุ่มอาการของโรค
หน้ากลม (Moon face)
คอมีหนอกยื่น (Buffalo hump)
แก้มแดง (Plethora)
ผิวบาง (Thin skin)
หน้าท้องมีรอยแตก (Striae)
ภาวะขาดประจำเดือน (Amenorrhea)
ชนิดและการทำงานของฮอร์โมนเมลาโทนิน
ต่อมไพเนียล
เมลาโทนิน (Melatonin) มักจะหลั่งใน
ช่วงเวลากลางคืนเนื่องจากไม่มีแสงสว่าง
ต่อมไพเนียลอยู่เหนือสมองส่วนกลางและอยู่หลังต่อโพรง สมองที่ 3
หลั่งฮอร์โมน Melatonin ทำหน้าที่ควบคุมวงจรการตื่นและการหลับของมนุษย์
ชนิดและการทำงานของฮอร์โมนตับอ่อน
ตับอ่อน (Pancreas)
โรคเบาหวาน
Type I Diabetes Mellitus
มักพบในเด็กหรือผู้ที่มีอายุน้อยกว่า 30
ปี
ต้องรักษาด้วยการฉีดอินซูลิน
Type II Diabetes Mellitus
พบในทุกวัยและมักมีภาวะอ้วนร่วม
มีภาวะดื้อต่ออินซูลิน
Gestational and other DM
มีภาวะขาดหรือดื้อต่ออินซูลิน
เกิดภาวะ Hyperglycemia ในหญิงตั้งครรภ์
ชนิดและการทำงานของฮอร์โมนระบบสืบพันธ์
อวัยวะสืบพันธุ์และรก
เพศชาย
กระตุ้น Secondary sex characteristics
กระตุ้นกระบวนการ Spermatogenesis
เพศหญิง
กระตุ้น Secondary sex characteristics
กระตุ้นกระบวนการ Ovulation