Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
มูลฝอยติดเชื้อกับผลกระทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม - Coggle Diagram
มูลฝอยติดเชื้อกับผลกระทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม
มูลฝอยติดเชื้อ
หมายถึง มูลฝอยทางการแพทย์ซึ่งมีเหตุอันควรให้สงสัยว่ามีหรืออาจมีเชื้อโรค ขยะที่สัมผัสหรือ
สงสัยว่าได้สัมผัสกับเลือดส่วนประกอบของเลือด (เช่นน้ำเลือด เม็ดเลือดต่าง ๆ ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากเลือด) สารน้ำจากร่างกาย (เช่นปัสสาวะเสมหะ น้ำลาย หนอง)
ประเภทการติดเชื้อ
การติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ เช่น วัณโรค,ปอดบวม,โรคซาร์ส ,โรคติดเชื้อไวรัสในระบบทางเดินหายใจ, โรคหัด
การติดเชื้อที่ตาเช่น เริม
การติดเชื้อในระบบทางเดินอาหาร ได้แก่ ลำไส้อักเสบ,อาหารเป็นพิษ, ท้องร่วง,โรคบิด ฯลฯ )
การติดเชื้อที่ผิวหนัง เช่น ฝี หนอง
การติดเชื้อโรคระบาดในสัตว์ เช่น โรคแอนแทรกซ์
ผลกระทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อมจาก
การจัดการมูลฝอยที่ไม่ถูกหลักสุขาภิบาล
เป็นแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์และแมลงพาหะนำโรค
ทำลายสุนทรียภาพด้านสิ่งแวดล้อม สกปรก น่ารังเกียจ
เป็นแหล่งแพร่ระบาดของเชื้อโรค
เกิดความรำคาญเนื่องจากกลิ่นเหม็น
เกิดการปนเปื้อนแหล่งน้ำใต้ดิน แม่น้ำ ลำคลอง
หลักการและแนวคิดในการจัดการมูลฝอยติดเชื้อ
มูลฝอยติดเชื้อจากทุกแหล่งกำเนิด ถูกคัดแยก เก็บขน และกำจัดโดยวิธีการที่เหมาะสม มีคุณภาพ ประสิทธิภาพ มีความปลอดภัย ไม่ก่อผลกระทบต่อสุขภาพและเป็นปัญหาต่อสิ่งแวดล้อมในชุมชน
กฎหมายและเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง
กฎกระทรวงเรื่องการจัดการมูลฝอยติดเชื้อ 2545
มาตรฐานการจัดการมูลฝอยติดเชื้อตามเกณฑ์กรมอนามัย
พระราชบัญญัติการสาธารณสุข 2535
ประชากรที่มีความเสี่ยงกับมูลฝอยติดเชื้อ
คนงานขนมูลฝอย
คนไข้ที่ไม่ได้รับการรักษาอย่างเหมาะสม
ผู้ป่วย ประชาชนทั่วไป
บุคลากรทางการแพทย์
ความเสี่ยงต่อสุขภาพที่เกิดจากมูลฝอยติดเชื้อ
ความเสี่ยงจากสารเคมี
ความเสี่ยงของการเกิดไฟไหม้หรือการระเบิด
ความเสี่ยงต่อการติดเชื้อ
ความเสี่ยงจากสารกัมมันตรังสี
ความเสี่ยงต่อการบาดเจ็บ
ความเสี่ยงด้านอชีวอนามัยของมูลฝอยติดเชื้อ
2.ความเสี่ยงที่สัมพันธ์กับความแหลมคม
3.ความเสี่ยงที่สัมพันธ์กับเลือด
1.ความเสี่ยงที่สัมพันธ์กับโรงกำจัดมูลฝอยติดเชื้อ
4.ความเสี่ยงที่สัมพันธ์กับการสัมผัสมูลฝอยของแข็งทั่วไป
การจัดการมูลฝอยติดเชื้อ
4.การเคลื่อนย้าย
5.ลักษณะรถเข็นที่เคลื่อนย้าย
3.การเก็บรวบรวมมูลฝอยติดเชื้อ
6.สถานที่พักรวมมูลฝอยติดเชื้อ
2.การคัดแยก
7.การกำจัดมูลฝอยติดเชื้อ
1.บุคลากร
ปัญหาและสาเหตุ
2.การดำเนินการเก็บรวบรวมมูลฝอยติดเชื้อจากสถานพยาบาลยังไม่ถูกวิธี
3.การดำเนินการเก็บขนไม่ถูกต้องตามหลักสุขาภิบาล
1.ขาดมาตรฐานและเกณฑ์ปฏิบัติที่ชัดเจน ในการดำเนินงาน
แนวทางการป้องกันการติดเชื้อสำหรับผู้เก็บขนบยะติดเชื้อ
3.การระวังอุบัติเหตุจากของมีคม
ปฏิบัติตามขั้นตอนอย่างถูกวิธี โดยตรวจถุงขยะติดเชื้อก่อนเคลื่อนย้ายว่ามีถุงรั่วหรือไม่ ถุงรั่วผูกถุง
ด้วยเชือกให้เรียบร้อย การยกถุงขยะให้จับที่คอถุงบริเวณที่ผูกเชือก ยกห่างจากตัว ห้ามแบก ห้ามอุ้มลาก
การวางถุงให้ระมัดระวัง วางปากถุงตั้งขึ้น ห้ามโยน หรือเอาของหนักทับ
2.การใช้เครื่องป้องกันร่างกายอย่างถูกต้องเหมาะสม
5.อาบน้ำชำระร่างกายทันทีหลังเสร็จงาน
1.การรักษาความสะอาดโดยการล้างมืออย่างถูกต้อง