Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การกำหนดโจทย์และสมมติฐานการวิจัยการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร - Coggle…
การกำหนดโจทย์และสมมติฐานการวิจัยการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
พื้นฐานแนวคิดที่ทำให้การตอบโจทย์การวิจัยมีคุณค่าที่สมดุล
มุมมองปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการกำหนดหัวข้อในการวิจัยที่เหมาะสม
การเข้าใจองค์ประกอบการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเพื่อกำหนดโจทย์การวิจัย
1.พื้นฐานการส่งเสริมการเกษตรมีรากฐานมาจากทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตัวเอง (construction)
2.องค์ประกอบการส่งเสริมและพัฒนาการการเกษตรเพื่อกำหนดตัวแปรในการวิจัย (ปัจจัยนำเข้า , ผลงาน , ปัจจัยที่สำคัญของความสำเร็จ , ปัจจัยความสำเร็จที่สำคัญ)
การเข้าใจกรอบของ "เศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม" เพื่อกำหนดโจทย์การวิจัย
คุณลักษณะที่สำคัญของนักวิจัย
1.คุณลักษณะพื้นฐาน "ความคิดนำการกระทำ"
2.การคำนึงถึงคุณค่างานวิจัย
3.การพอกพูนความสามารถส่วนตัวในการวิจัยด้วยการปลูกฝัง "อุปนิสัย" ทีจำเป็นต่อความสำเร็จในงานวิจัย
ผลได้ที่พึงปรารถนาและข้อพึงหลีกเลี่ยงในการวิจัยเพื่อการนำการวิจัยไปใช้ให้เกิดผล
1.ผลลัพธ์ของการวิจัย อย่างน้อยมีรากฐานของ "ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง" เพื่อเป็นรากฐานของ "โมเดลที่นำเสนอ สิ่งสำคัญคือการเข้าถึง ความเป็นจริง (reality) ที่ได้จากการวิจัยต้องถูกนำไปรับใช้สังคม
2.การรับรู้ว่าแนวคิดอะไรจะทำให้ตอบโจทย์การวิจัยให้เกิดผลลัพธ์ในการเพิ่มคุณค่า
การวิจัยไม่ใช่ "การลองผิดลองถูก" ต้องมีการทดสอบอย่างมีเหตุผลเพื่อหาข้อสรุปที่ตอบ "ความเป็นจริง" อย่างถูกต้อง
ความรู้เกี่ยวกับการสร้างแนวคิดในการออกแบบโครงสร้างวิจัย
2.คววามเป็นจริง (reality)
2.1 ความเป็นจริง เป็น "ความจริงสมมติ"
2.2 เป็นการนำเอา "สัจจะความจริง" มาตีความเป็นความจริง
3.ข้อเท็จจริง (facts) คือ ที่ปรากฎในประสาทสัมผัสทั้ง 5
1.นักวิจัยต้องรู้และเข้าใจ
1.1 ความจริง (truth) อยู่เบื้องหลังความเป็นจริง(reality)
1.2 "ความจริง" ปลดปล่อย ความเป็นจริง
1.3 ความจริง เป็นความถูกต้องของข้อเท็จจริง และสอดตล้องกับความเป็นจริง และข้อเท็จจริง (fact)เสมอ
1.4 มนุษย์ต้องเสาะแสวงหาความจริงตลอดเวลา ด้วยความจริงทางวิทยาศาสตร์ ได้แก่ สัจพจน์ (axiom) ทางคณิตศาสตร์กับความเป็นจริงทางศาสนา
การดำเนินการตามกระบวนการพื้นฐานของการขับเคลื่อนหลักในการกำหนดโจทย์ในการวิจัย
กระบวนการสำคัญในการขับเคลื่อนการวิจัยเพื่อให้เห็นทิศทางและแนวทางการตอบโจทย์
การสร้างความแข็งแกร่งในการวิจัย ต้องประกอบด้วยพื้นฐานความลุ่มลึกของเนื้อหาสาระ ความเชี่ยวชาญวิทยาการและการปฏิบัติ ความล้ำหน้าที่จะใช้ในการทดลองให้เหมาะสม
การมีกระบวนการที่เหมาะสมในการขับเคลื่อนการวิจัยด้วยแนวความคิดที่เหมาะสมตั้งแต่เริ่มแรก จะทำให้เห็นแนวทางการขับเคลื่อนกระบวนการทางวิจัยตามแนวคิดที่กำหนดไว้
การออกแบบโครงสร้างของข้อมูล การกำหนดกรอบความคิดและสมมติฐาน
กรอบแนวคิดในการวิจัยจะมีการออกแบบโครงสร้างของข้อมูลและตัวแปรเกี่ยวข้องที่จะเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันอย่างเป็นระบบ
การออกแบบโครงสร้างของกรอบแนวคิดและทฤษฎีที่เหมาะสม จึงสามารถขับเคลื่อนทั้งนำมาซึ่งประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการทบทวนวรรณกรรม
แนวคิดในการตอบโจทย์ เงื่อนไข พื้นฐานสำคัญเพื่อให้เกิดการขับเคลื่อนหลัก
1.แนวคิด (concept) ของกระบวนการตอบโจทย์เพื่อให้ได้ "ความเป็นจริง" (reality) ที่เหมาะสม เพื่อให้มีพื้นฐานของการขับเคลื่อน (main movement)
ประเด็นปัญหาในการวิจัยที่ชัดเจน และครอบคลุม จะทำให้เกิดคุณลักษณะของหัวข้อการวิจัยที่ตอบโจทย์ ไม่ใช่แค่เอางานมาต่อยอด
หัวข้อการวิจัยต้องสามารถเป็นตัวขับเคลื่อนกระบวนการอย่างแท้จริง
นักวิจัยต้องมีคุณสมบัติครบถ้วนในการวิจัยตามหัวข้อนั้น
แนวคิดของการออกแบบและการวิเคราะห์การวิจัยเพื่อการตอบโจทย์อย่างมีระบบ
การวิเคราะห์อย่างมีระบบเพื่อตอบโจทย์ด้วยความจริง
การวิเคราะห์ข้อมูลเพราะการวิเคราะห์อย่างมีเหตุผล ต้องมองให้ครบทุกมิติทั้งการวิจัยเชิงปริมาณ และเขิงคุณภาพ
แม้วิธีการเก็บและวิเคราะห์ข้อมูลของการวิจัยเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพแต่กต่างกัน แต่แนวคิดในการเก็บข้อมูลและการวิเคราะห์ก็สอดคคล้องกัน
วิเคราะห์บนฐานของการใช้ข้อมูล
แนวคิดการตีความและการสรุปสาระอย่างมีเหตุผลเพื่อสรุปผลการวิจัย
แม้แนวคิดทำนองเดียวกัน การสรุปสาระอย่างมีเหตุผลก็มีแนวคิดที่คล้ายกัน คือ ใช้ทั้ง "deductive method" และ "inductive method" แต่ใช้ในวัตถุประสงค์ที่แตกต่างกัน
ถ้าสรุปการทดสอบทฤษฎี จะใช้ "deductive method" คือจาก "universe to particular" แต่ถ้าจะก่อตั้งทฤษฎี จะใช้ "induction method" คือจาก "particular to universe"
การวิจัยเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ มีแนวคิดตั้งแต่แนวคิดการก่อตั้งสมมติฐานที่แตกต่างกัน จึงมีกระบวนการวิเคราะห์ที่แตกต่างกัน
แนวคิดการกำหนดระเบียบวิธีการวิจัยเพื่อการตอบโจทย์การวิจัย
แนวทางการใช้บุคลากรหลายสาขาหรือความรอบรู้หลายด้าน จะตอบโจทย์ความครบถ้วนของการครอบคลุมปัจจัย (และตัวแปร) ที่เกี่ยวข้องระหว่าง ตัวแปรที่เป็นเหตุ (ตัวแปรอิสระ/independent variable) และตัวแปรที่เป็นผล (ตัวแปรตาม/dependent variable) เพื่อให้เกิดมุมมองที่เติมเต็มกัน
การออกแบบการวิจัยแบบผสม จะเป็นการหาคำตอบที่เติมเต็มที่ครบถ้วนในการวิจัย