Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เคมีไฟฟ้า**, นายภาณุวิชญ์ จันทระ ชั้น ม.5/2 เลขที่5 - Coggle Diagram
เคมีไฟฟ้า**
ปฎิกิริยารีดอกซ์
ปฎิกิริยาที่มีการถ่ายโอนอิเล็กตรอน จากสารหนึ่งไปยังอีกสารหนึ่งโดยสารทั้งสองไม่ต้องสัมผัสกันก็ได้
ปฎิกิริยารีดอกซ์จะต้องมีการเพิ่มหรือลดของเลขออกซิเดชัน
สารที่เกิดปฎิกิริยารีดอกซ์จะมีเลขออกซิเดชันของธาตุเปลี่ยนไป
การถ่ายโอนอิเล็กตรอน
Reduction
มีเลขออกซิเดชันลดลง
เป็นตัวออกซิไดส์
รับ e-
ถูกรีดิวซ์
ปฎิกิริยา Y+ + e- -----> Y
Oxidation
มีเลขออกซิเดชันเพิ่มขึ้น
เป็นตัวรีดิวซ์
เสีย e-
ถูกออกซิไดซ์
ปฎิกิรยิา X ------> X+ + e
ปฏิกิริยาออโตรีด็อก
2 KOH + Cl2 = KCl + KClO + H2O
Cl เป็นทั้งตัวให้และรับอิเล็กตรอน
ปฏิกิริยาที่สารตัวเดียวกันเกิดทั้งปฏิกิริยาออกซิเดชันและรีดักชั่น
การสมดุลสมการรีดอกซ์
การดุลโดยอาศัยเลขออกซิเดชัน
การดุลสมการรีดอกซ์โดยใช้วิธีเลขออกซิเดชันที่เปลี่ยนแปลง
เป็นการดุลสมการของปฏิกิริยารีดอกซ์ โดยทําเลขออกซิเดชัน ที่ลดลงเท่ากับเลขออกซิเดชันที่เพิ่มขึ้น แล้วทําจํานวนอะตอมของธาตุต่าง ๆ ทางซ้ายและทางขวาให้เท่ากัน แต่ถ้าเป็นสมการไอออนิกต้องทําค่าประจุรวมทางซ้าย และทางขวาให้เท่ากันด้วย
หลักทั่วไปของการดุลสมการรีดอกซ์โดยวิธี เลขออกซิเดชันที่เปลี่ยนแปลง
เขียนสมการของปฏิกิริยาที่ยังไม่ดุล แสดงเลขออกซิเดชันของธาตุที่เปลี่ยนแปลงไป และ แสดงเลขออกซิเดชันที่เพิ่มขึ้น และลดลงไว้ข้างล่าง โดยคิดต่อสารตั้งต้นที่เป็นตัวออกซิไดส์หรือตัวรีดิวซ์นั้น 1 โมเลกุล
ทําเลขออกซิเดชันที่เพิ่ม ขึ้นและลดลงให้เท่ากัน ด้วยการคูณไขว้สลับค่าเลขออกซิเดชันที่เพิ่มขึ้นและลดลงนั้น
ทําจำนวนอะตอมของธาตุที่เปลี่ยนเลขออกซิเดชันทั้งซ้ายและทางขวาให้เท่ากัน
ดุลจํานวนอะตอมของธาตุอื่นๆ ที่ไม่เปลี่ยนแปลงเลขออกซิเดชันให้เท่ากัน ถ้ามีH2O ( H และ O ไม่เปลี่ยนแปลงเลขออกซิเดชัน) รวมอยู่ด้วยให้ดุลเป็นอันดับสุดท้าย และในการดุล H2O ให้ทำจํานวนอะตอม H ซ้ายและขวาให้เท่ากัน
สําหรับสมการไอออนิก เมื่อดุลถึงขั้นที่ 3 ให้ดุลประจุทั้งทางซ้ายและขวาให้เท่ากันแล้วจึงดุลขั้นที่ 4 ต่อไป
สมการที่ดุลแล้ว ต้องทําเลขสัมประสิทธิข้างหน้าของสารทุกชนิดเป็¬นตัวเลขอย่างต่ำ
การดุลโดยอาศัยปฏิกิริยาครึ่งเซลล์
1.เเยกเป็นครึ่งเซลล์
2.ดุลธาตุที่ไม่ใช่ O เเละ H ในเเต่ละเซลล์ให้เท่ากัน
3.เติม H2O ในด้านที่ขาด O เติม H+ในด้านที่ขาด H ตามลําดับ
6.ถ้าปฎิกิริาเกิดในเบส ให้กำจัด H+ โดยการเติม OH- และใช้หลักการแตกตัวของน้ำ
4.เติมe-ในด้านที่ขาดประจุลบ (ดูเเต่ประจุไม่ดูเลขออกซิเดชัน)
5.ทํา e- ทั้งสองครึ่งเซลล์ให้เท่ากันโดยการคูณตัวเลข เเล้วนําครึ่งเซลล์ทั้งสองมารวมสมการกัน
เลขออกซิเดชัน
ตัวแสดงเลขค่าประจุไฟฟ้าของธาตุ ซึ่งอาจจะเป็นธาตุเดี่ยว หรืออยู่ในรูปสารประกอบก็ได้
ผลรวมเลขออกซิเดชันของธาตุหรือไอออนเชิงซ้อนในสารเชิงไอออนมีค่าเท่ากับ ไอออนของสารนั้น
ผลรวมเลขออกซิเดชันของธาตุในสารประกอบ มีค่าเท่ากับ 0
ปฎิกิริยาไฟฟ้าเคมี
เคมี-ไฟฟ้า
ปฎิกิริยาที่มีการถ่ายโอนอิเล็กตรอน เกิดกระแสไฟฟ้านําไปใช้ได้
ถ่านไฟฉาย แบตเตอรี่
เซลล์กัลวานิก
ไฟฟ้า-เคมี
ปฎิกิริยาที่มีการผ่านกระแสไฟฟ้าเข้าไปในสารละลายเพื่อทำให้เกิดปฎิกิริยาเคมี
การแยกน้ำด้วยไฟฟ้า การชุบโลหะ
เซลล์อิเล็กโตไลต์
นายภาณุวิชญ์ จันทระ ชั้น ม.5/2 เลขที่5