Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Viral, LINE_ALBUM_132022_๒๒๐๓๐๑_14, LINE_ALBUM_132022_๒๒๐๓๐๑_12, LINE…
Viral
Viral Diseases
โรคโปลิโอ (Poliomyelitis)
-
++เชื้อไวรัสก่อโรค : Varicella - Zoster virus (VZV)*
++การติดต่อ : ทางน้ำมูก น้ำลาย และแผลที่ผิวหนัง
++ระยะฟักตัว : ประมาณ 14-16 วัน (แพร่เชื้อช่วงก่อนมีอาการ 2 วัน)
โรคงูสวัด (Herpes Zoster, Shingles)
++เชื้อไวรัสก่อโรค : Varicella - Zoster virus (VZV)
++เชื้อซ่อนตัวอยู่ที่ปมประสาทรากบนของไขสันหลัง (Dorsal root ganglion)
++เป็นตุ่มใสตามแนว dermatome (แนวเส้นประสาทของผิวหนัง)
- อาการเริมบริเวณฝีปาก
-เชื้อไวรัสเข้าสู่ร่างกายประมาณ 6-8 วัน
-ผิวบริเวณนั้นเกิดตุ่มน้ำพองใสเป็นกลุ่มๆ กลุ่มละ 2-10 เม็ด (ระยะติดต่อ)
- อาการเริมบริเวณอวัยวะเพศ
-มีอัตราการติดต่อสูง โดยมักติดต่อทางเพศสัมพันธ์
-อาการรุนแรงในช่วงการติดเชื้อครั้งแรก
-เกิดอาการหลังได้รับเชื้อประมาณ 2-3 วัน ถึง 3 สัปดาห์
-ปวดแสบปวดร้อน ระคายเคืองบริเวณที่จะเกิดตุ่มแผล
-ปวดศีรษะ เป็นไข้ ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ
-ผ่านไป 10 วัน จะมีตุ่มใสๆ เกิดขึ้นและมีอาการเจ็บปวดมาก
โรคหัด (Measles, Rubeola )
++เชื้อไวรัสก่อโรค : Rubeola virus
++การติดต่อ : ทางลมหายใจ (ติดต่อง่ายโดยการไอ / จาม) / การสัมผัสน้ำมูก
++ระยะฟักตัว : 9-12 วัน (บางรายนานถึง 21 วัน)
++การป้องกัน : ฉีดวัคซีน MMR (Measles, Mumps and Rubella vaccine)
โรคหัดเยอรมัน (German Measles, Rubella)
-
++การเกิดโรค : โรคกลัวน้ า (hydrophobia)
++การติดต่อ : น้ำลายของสัตว์ที่ติดเชื้อ
++ระยะฟักตัว : ประมาณ 2-8 สัปดาห์
**อาจสั้นเพียง 5 วัน หรือยาวนานเกินกว่า 1 ปี
++การติดต่อ : ติดต่อโดยตรงทางการหายใจ และสัมผัสน้ำลายของผู้ป่วย เช่น การดื่มน้ำ และอาหารที่ใช้ภาชนะร่วมกัน
++ระยะฟักตัว : 14-25 วัน
++เชื้อเข้าไปเพิ่มจำนวนในเยื่อบุทางเดินหายใจ และต่อมน้ำเหลืองบริเวณใกล้เคียง
++เข้าสู่กระแสเลือด ไปยังอวัยวะต่าง ๆ เช่น ต่อมน้ำลาย ตับอ่อน อัณฑะ รังไข่ และเยื่อหุ้มสมอง >> อักเสบ บวม แดงมีอาการไข้คล้ายไข้หวัด ประมาณ 2-3 วัน และมีอาการเจ็บบริเวณหน้าหูร่วมกับอาการบวม
++ภาวะแทรกซ้อนที่สำคัญ คือ ภาวะตับอ่อนอักเสบ และถุงอัณฑะอักเสบในเด็กผู้ชาย
++การป้องกัน : ฉีดวัคซีน MMR
โรคไข้หวัดใหญ่ (Influenza)
++เชื้อไวรัสก่อโรค : Influenza virus
++ แบ่งเป็น 3 type
Influenza virus A (ติดเชื้อในคน และสัตว์ : ม้า สุกร นก ไก่)
Influenza virus B (ติดเชื้อในคน)
Influenza virus C (ติดเชื้อในคน)
Link Title
โรคไข้เลือดออก (Dengue Fever)
++เชื้อไวรัสก่อโรค : Dengue fever virus (DENV)
++การติดต่อ : พาหะน าโรค คือ ยุงลายบ้าน
++ระยะฟักตัว : 3-14 วัน (ส่วนใหญ่ประมาณ 4-7 วัน)
++ อาการ : จำแนกตามลักษณะความรุนแรง ดังนี้
1) Dengue fever, DF
คือ ไข้สูง ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ปวดข้อ/ปวดกระดูก มีผื่น หรือจุดเลือดออก
2) Dengue hemorrhagic fever, DHF
คือ ไข้สูงลอยเป็นประมาณ 2-7 วัน มีจุดเลือดออก ตับโต และมีอาการเปลี่ยนแปลงทางระบบไหลเวียนโลหิต จนเกิดภาวะช็อกได้ และมีการรั่วของพลาสมา
3) Dengue Shock Syndrome, DSS คือ DHF
ร่วมกับมีภาวะช็อก โดยมีอาการร่วมคือ ชีพจรเบาเร็ว และมีการเปลี่ยนแปลงของความดันเลือด
โรคไวรัสตับอักเสบ (Hepatitis Virus)
-
โรคมือ เท้า ปาก (Hand Foot Mouth Disease)
++เชื้อไวรัสก่อโรค : Coxsackie virus
++เป็นโรคที่ไม่รุนแรง เรียกว่า mild disease
++อาการ : มีผื่นและตุ่มน้ำใส (หายได้เองในเวลา 5 – 7 วัน หรือไม่เกินสองสัปดาห์)
++การติดต่อ : fecal-oral transmission
++HPV (Human Popilloma virus)
++ทำให้เกิดมะเร็งปากมดลูกได้
++ผู้ชายสามารถติดเชื้อ HPV ได้
++การติดต่อ
-ติดต่อทางเพศสัมพันธุ์
++เชื้อมีความจำเพาะ : เซลล์เม็ดเลือดขาว และcell ระบบประสาท ได้ดีกว่า cell อื่น
++ไวรัสก่อโรค
-HIV (Human Immunodeficiency Virus)
-เชื้อไวรัสที่จะเข้าไปทำลายเซลล์เม็ดเลือดขาว ทำให้ภูมิคุ้มกันบกพร่อง
++โรค AIDS
-Acquired Immune Deficiency Syndrome
-กลุ่มอาการภูมิคุ้มกันบกพร่อง เนื่องจากการติดเชื้อ
-HIV ทำให้เกิดโรคแทรกซ้อนต่าง ๆ >> เมื่อภูมิคุ้มกันของร่างกายถูกเชื้อ HIV ทำลาย >>ไม่สามารถต้านทานเชื้อโรคที่จะเข้าสู่ร่างกายได้
++อันตรายต่อหญิงตั้งครรภ์
-การติดเชื้อไวรัสซิกา ในคุณแม่ ตั้งครรภ์ มีความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะ ศีรษะเล็กแต่กำเนิดในทารก
++อาการ
ส่วนใหญ่ป่วยแล้วหายเองไต้ มีอาการไข้ พื้น ตาแดง หรือ ปวดข้อ อาการเหล่านี้ทุเลาลง ภายในเวลา 2-7 วัน หากได้รับการรักษาอย่างถูกต้องและทันท่วงที ยกเว้น หญิงมีครรภ์ อาจาระทาบทามาในครรภ์ มีความเสี่ยงสูงทำให้ศีรษะเล็กตั้งแต่แรกเกิด
โรคชิคุนกุนยา (Chikungunya)
++เชื้อไวรัสก่อโรค : Chikungunya virus, CHIK V
++พาหะนำโรคคือยุงลาย
++อาการและอาการแสดง
-ไข้สูงฉับพลัน
-ไข้ระยะเวลาสั้น 2-4 วัน
-พื้นแดงเป็นขึ้น
-ปวดเมื่อย ปวดข้อ
-ไม่มีเกร็ดเลือดต่ำ
++ไวรัสโรต้า คือ เชื้อโรคที่ติดต่อผ่านการรับเชื่อเข้าทางปากทำให้มีอาการท้องร่วงอย่างรุนแรง มักพบในเด็กเล็กอายุต่ำกว่า 5 ขวบ ผู้ปกครองเด็ก รวมถึงผู้ที่มีภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่อง
อาการและอาการแสดง
-มีใข้สูง
-อาเจียน
-ท้องเสีย ถ่ายเหลว ในรายที่รุนแรงมาก3 ครั้ง/วัน หรือมากกว่า อาจขาดน้ำ
-หากรักษาไม่ทันอาจช็อกและเสียชีวิตได้
++กลุ่มเสี่ยง
-เด็กอายุต่ำกว่า 5 ขวบ
-ผู้ปกครองที่ดูแลเด็ก
-เจ้าหน้าที่ในสถานพยาบาล
-ผู้สูงวัย
-ผู้ที่มีภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่อง
++Coronavirus disease 2019
++อาการและอาการแสดง
-มีไข้
-เจ็บคอ
-ไอแห้ง ๆ
-น้ำมูกไหล
-หายใจเหนื่อยหอบ
++วิธีการป้องกันการติดเชื้อ Covid 19
-หลีกเลี่ยงการสัญจรไปบริเวณที่มีคนแออัด เช่น ห้างสรรพสินค้า โรงภาพยนต์ คลับ บาร์ เป็นต้น
-ถ้ายังไม่ล้างมือ (ล้างด้วยสบู่) ไม่ควรสัมผัสบริเวณตา จมูก ปาก
-หมั่นล้างมือให้สะอาดอยู่เสมอ (ถ้าใช้แอลกอฮอลล์ล้างมือควรมีส่วนผสมของแอลกอฮอลล์มากว่า 70%) โดยเฉพาะตอนก่อน-หลัง รับประทานอาหาร เดินทางนอกบ้าน และก่อนการสัมผัสใบหน้า
-ควรใส่หน้ากากอนามัยเพื่อป้องกันการแพร่เชื้อตลอดเวลา (ควรใส่หน้ากากอนามัย-หน้ากากผ้า ตอนอยู่บ้านเช่นกันเพื่อลดโอกาสการแพร่ระบาดของเชื้อในครอบครัว)
++การเจ็บป่วยของเด็กที่ได้รับไวรัส RVS มักพบในเด็กเล็กโดยเฉพาะเด็กอายุน้อยกว่า 2 ขวบ
++อาการและอาการแสดง
-มีเสียงหวีดในปอด
-มีเสมหะมาก ไอแรง
-เหนื่อยหอบ หายใจลำบาก
ลักษณะของเชื้อไวรัส
-จุลินทรีย์ที่สามารถทำให้เกิดการติดเชื้อได้ (infectious agents)
-กลไกการเพิ่มจำนวนของไวรัส ที่เรียกว่า replication
-ไวรัสมีโครงสร้างและส่วนประกอบง่าย ๆ ไม่มีmetabolism
-ไม่มี organelle
-ต้องอาศัยการท างานจาก host cell
- มี nucleic acid เพียงชนิดเดียว (DNA หรือ RNA)
- เป็นสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กมาก (20-250 นาโนเมตร)
- เพิ่มจำนวนโดยอาศัยกลไกของสิ่งมีชีวิตที่ไวรัสเข้าไปอยู่
- ไม่ถูกทำลายโดยยาปฏิชีวนะ แต่ใช้interferon (IFN) หรือ antiviral drug
- การติดเชื้อไวรัส ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ บน host cell เช่น
*ทำให้เซลล์ตาย
*มีการรวมตัวของเซลล์
*ทำให้เซลล์เกิดการเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติ(transformation)กลายเป็นเซลล์มะเร็งได้
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-