Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 16 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีความผิดปกติระบบทางเดินอาหาร ทางเดินน้ำดี…
บทที่ 16 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีความผิดปกติระบบทางเดินอาหาร ทางเดินน้ำดี ตับและตับอ่อน
CA colon & CA Rectum
การรักษา - การผ่าตัด - การให้ยาเคมีบ้าบัด - การให้รังสีรักษา โดยพิจารณาตามความ เหมาะสมและข้อบ่งชี ในผู้ป่วยแต่ละรายไป
การผ่าตัดรักษาโรคมะเร็งที่มีภาวะล้าไส้ใหญ่อุดตัน 1. ภาวะมะเร็งล้าไส้ใหญ่ด้านขวาอุดตัน - Right hemicolectomy - Extended right hemicolectomy - Bypass Operation 2. ภาวะมะเร็งล้าไส้ใหญ่ด้านซ้ายอุดตัน - Staged operation - Bowel resection - Self-expanding - Bypass Operation 3. ภาวะมะเร็งไส้ตรงอุดตัน - Proximal colostomy - Hartmann's procedure - Bowel resection with primary anastomosis - Trans anal colonic decompression
อาการ : ถ่ายเป็นเลือดสด อุจจาระมี รูปร่างแคบกว่าปกติถ่ายอุจจาระ ไม่สุด ความอยากอาหารลดลง น ้าหนักลด
Intestinal
การรักษา - การผ่าตัดล้าไส้ที่มีพยาธิสภาพทิ ง ร่วมกับต่อล้าไส้ส่วนที่เหลือเข้าด้วยกัน - การผ่าตัดล้าไส้ที่มีพยาธิสภาพทิ ง ร่วมกับท้าทวารเทียม
การพยาบาล - ให้ค้าแนะน้าในเรื่องการรับประทานอาหารไฟเบอร์สูง ลด อาหารไขมันและเนื อสัตว์สีแดง - ชั่งน ้าหนักตัวและค้านวณพลังงานที่ร่างกายต้องการ - ต้องหลีกเลี่ยงการเพิ่มแรงดันในช่องท้อง - ต้องหลีกเลี่ยงการเพิ่มแรงดันในช่องท้อง - สังเกตอาการ peritonitis ปวดท้อง
Diverticulum การประเมิน : การซักประวัติ ภาวะท้องผูก , การตรวจ ร่างกาย , การตรวจทาง ห้องปฏิบัติการ , การตรวจ พิเศษ , barium enema
Appendicitis
การผ ่าตัด - การผ่าตัดแบบเปิดหน้าท้อง (open appendectomy) - การผ่าตัดโดยการส่องกล้อง (Laparoscopic appendectomy)
การประเมินความผิดปกติ ระบบทางเดิน อาหาร ทางเดินน ้าดี ตับและตับอ่อน •การซักประวัติ •การตรวจรางกาย •ผลการตรวจทางหองปฏิบัติการ •ผลการตรวจพิเศษ
Introduction ระบบทางเดินอาหาร สามารถแบ่งส่วนตาม โครงสร้าง สามารถ แบ่งเป็น 2 สวน ได้แก่ 1. ระบบทางเดินอาหารสวนบน (Upper GI) 2. ระบบทางเดินอาหารสวนลาง (Lower GI)
Procto ล้าไส้ใหญ่อักเสบ (ulcerative colitis)
การพยาบาล 1. ดูแลให้NPO 2. ให้สารน ้าทดแทนทางหลอดเลือดด้า/ให้สารอาหาร High-protein, high-calorie,vitamin 3. แนะน้าหลีกเลี่ยงอาหารที่อาจท้าให้ถ่ายเหลว เช่น นม 4. ให้ยา antidiarrhea, antiperistaltic drugs 5. ให้Sulfonamides (Azulfidine) 6. ให้antibiotics (กรณีพบมีabscess, peritonitis) 7. ACTH (adrenocorticrotropic hormone)
การรักษา 1. Total colectomy with ileostomy 2. segmental colectomy with anastomosis 3. subtotal colectomy (ตัดส่วน colon เกือบหมด) with lleorectal anastomosis (ต่อ lleum กับ rectum) 4. Total colectomy with leoanal anastomosis
อาการ : อาเจียน ขาดน ้า ซีด ถ่ายเหลว ปวดท้อง มี เลือดออกทางทวารหนัก น ้าหนักตัวลดลง มีไข
ข้อวินิจฉัย - การเปลี่ยนแปลงของภาวะโภชนาการ - ควรให้อาหารที่ไม่ระคายเคืองและมีแคลอรี่ โปรตีนและเกลือแร่ สูง อาหารที่จัดให้ควรเป็นอาหารที่คุณภาพสมบูรณ์และไม่มี กาก ไขมันต่้า - การย่อยส่วนใหญ่จะอยู่บริเวณล้าไส้เล็กส่วน Jejunum ให้ จ้านวนน้อย แต่เพิ่มจ้านวนมากในแต่ละมื อควรเป็นอาหารอ่อนมี กากน้อย
ไสเลื่อน (Hernla)
การรักษา - การผ่าตัด Herniorrhaphy − การผ่าตัด Hernloplasty การประเมิน - การซักประวัติอาการปวด - การตรวจร่างกาย - การตรวจทางห้องปฏิบัติการ - การตรวจพิเศษ Film abdomen, Barium enema
การพยาบาล - ภาวะติดเชื อจากล้าไส้เน่า - ภาวะวิตกกังวลเกี่ยวกับการผ่าตัด - ไม่ให้ความร่วมมือในการรักษา - ไม่สนทนากับผู้อื่น
มีก้อนก้อนนี จะโตขึ นเวลายกของหนัก หรือไอแรงๆ จะท้าให้ก้อนโตออกมาและ อาจจะได้ความรู้สึกมีเสียงเคลื่อนไหว ของล้าไส้เมื่อนอนลงหรือจับก้อนคัน จับก้อนจะหายไป
ภาวะเยื่อบุช่องทองอักเสบ (Peritonitis) การประเมิน : การตรวจร่างกาย , การ ตรวจทางห้องปฏิบัติการ , ผลภาพรังสี ช่องท้อง , Ultrasound , CT scan Abdomen , MRI , การเจาะน ้าเยื่อหุ้ม ท้อง
การรักษา - การให้สารน ้าทดแทน - บรรเทาอาการปวดการอาเจียน - การใส่สายยางทางเดินอาหารและต่อระบบดูด สุญญากาศล้าไส้ - ส่งเสริมให้ออกซิเจนอย่างเพียงพอต่อร่างกาย - ยาปฏิชีวนะตามกลุ่มเชื อ - การผ่าตัด
การพยาบาล - อาการปวด - ภาวะขาดน ้าและอิเล็กโทรไลท์ไม่สมดุล - ท้างานของไต - ภาวะช็อก - ติดตามและวัดสัญญาณชีพของผู้ป่วย - ประเมินหน้าที่ของระบบทางเดินทางอาหาร (GI function) - งดน ้า อาหารและยาทางปากทุกชนิด — ใส่สายยางระบายทางเดินอาหารและต่อเครื่องดูด สุญญากาศ negative pressure
Introduction
การพยาบาล 1) งดอาหารและน ้าดื่มตลอด ก่อนตรวจ 8 ชั่วโมง 2) ดูแลความสะอาดปากฟันและบ้วนปากด้วยน ้ายาบ้วนปาก ถอดฟันปลอม 3) ให้ premedication ตามแผนการรักษา ส่งผู้ป่วยพร้อมด้วยฟอร์มปรอทและ film X ray 4) อธิบายให้ผู้ป่วยทราบว่าคอจะชาอยู่ประมาณ 1-2 ชม. ตรวจดู 5) สังเกตภาวะแทรกซ้อนจากการตรวจอาการอาจเกิดขึ น
การประเมินความผิดปกติ - การซักประวัติอาการปวดท้อง คลื่นไส้อาเจียน ท้องเสีย ท้องโตคล้าได้ ก้อนหรือมีตัวเหลือง ตาเหลือง - การตรวจร่างกาย - ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ 1. Complete Blood Count (C.B.C.) 2. Liver function tests ถ้ามีค่าสูงขึ นอาจบ่งบอกถึงการอักเสบของตับ ทางเดินน ้าดี 3. Electrolytes - ผลการตรวจพิเศษ 1. การตรวจวินิจฉัยด้วยเครื่องมือพิเศษ - Esophagogastro duodenoscopy (EGD) การตรวจโดยการใส่เครื่องมือ เข้าไปส่องดูความผิดปกติตั งแต่หลอดอาหารจนถึงล้าไส้เล็กส่วนต้น - Colonoscopy, Sigmoidoscopy (Lower G.I. endoscopy) ตรวจดูล้าไส้ ใหญ่ตั งแต่ anus จนถึง cecum หรือ sigmoid - Endoscopic retrograde cholanglopancreatography of the billary duct (ERCP) 2. การตรวจทางรังสีในระบบทางเดินอาหาร - Upper gastrointestinal or Barium swallowing (upper GI series หรือ UGI Series) UGI series - Barlum enema ((BE, Lower G.I. series) 3. Macnetic resonance Imaging (MRI) 4. Ultrasonography
Gl
• CA esophagus • gastric ulcer • gastroesophageal reflux • Appendicitis • peritonitis มะเร็งหลอดอาหาร (CA esophagus)
มะเร็งหลอดอาหาร (CA esophagus)
การวินิจฉัย 1. การท้า Barium Swallow 2. การรท้า esophago scope 3. การท้า CT scan และ bronchoscopy
การรักษา - การฉายรังสี - เคมีบ้าบัด - การผ่าตัด การผ่าตัด เอาส่วนของหลอด อาหารที่เป็นมะเร็งออก esophagectomy แพทย์ จะผ่าเอาส่วนของหลอด อาหารที่เป็นมะเร็งออก ส่วนที่เหลือของหลอด อาหารจะถูกต่อเข้ากับ กระเพาะอาหาร
การพยาบาล 1) บรรเทาอาการเจ็บปวด การให้ยา การพักผ่อนอย่าง เพียงพอ ผ่อนคลายความเครียด 2) ส่งเสริมภาวะโภชนาการ หลีกเลี่ยงอาหารที่กระตุ้น การหลั่งกรด เช่นแอลกอฮอล์เครื่องดื่มและอาหารที่มี คาเฟอีน รวมทั งนม อาหารที่มีครีม 3) ป้องกันภาวะแทรกซ้อน สังเกตอาการเลือดออกใน ระบบทางเดินอาหาร ตรวจหา occult blood บันทึก สัญญาณชีพ 4) ให้ค้าแนะน้าก่อนการกลับบ้าน หลีกเลี่ยงปัจจัย ส่งเสริมท้าให้เกิดอาการ
การรักษาแบบประคับประคอง - การใส่สายยางเข้าไปในกระเพาะอาหารหรือล้าไส้ เล็ก - การขยายหลอดอาหารที่ตีบ - การใส่ท่อหรือวัสดุถ่างขยายหลอดอาหารที่ตีบอยู่ คาไว้ - การสร้างทางเดินอาหารสู่กระเพาะอาหารใหม่ - การใช้แสงเลเซอร์ท้าลายก้อนมะเร็ง
การวินิจฉัย - ซักประวัติ - gastroscopy และ esophagogastroduodenoscopy - CLO test ตรวจหาเชื อ H.pylori การรักษา 1. Gastric lavage เพื่อล้างเอาเลือดออก 2. ให้ยา 3. รักษาผ่าน endoscope เช่น จี จุดเลือดออก 4. การรักษาด้วยการผ่าตัด Subtotal gastractomy with Gastroduodenostomy (Billoth 1) , Billoth 2 , Vagotomy
การตกเลือดระบบทางเดินอาหาร (Gastrointestinal bleeding
การรักษา - ให้เลือดและสารน ้า - การท้าให้เลือดหยุดโดยเร็ว - วินิจฉัยถึงสาเหตุของการเกิดโดยเร็วเพื่อแก้ไขที่สาเหตุ - การสร้างทางเดินอาหารสู่กระเพาะอาหารใหม่ - ในรายที่ห้ามเลือดไม่ได้ผลอาจต้องพิจารณารักษาโดย การผ่าตัด
การพยาบาล 1) ประเมินอาการและอาการแสดงของภาวะช็อก 2) เตรียมการให้เลือดโดยเร็ว 3) การดูแลช่วยเหลือในการห้ามเลือด 4) การดูแลช่วยเหลือในการตรวจวินิจฉัย 5) ให้ยาตามแผนการรักษา 6) เตรียมผู้ป่วยเพื่อการผ่าตัดในรายที่มีอาการบ่งช
การวินิจฉัย - ซักประวัติ - ประวัติการใช้ยาแก้ปวด - การตรวจร่างกาย ตรวจทางทวารหนัก - การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ริดสีดวงทวาร (Hemorrholds)
การรักษา - ให้เปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคและ พฤติกรรมประจ้าวัน - ใช้ยาระบาย กลุ่มเพิ่มการเคลื่อนไหวของ ล้าไส้และยากลุ่มท้าให้อุจจาระอ่อนนุ่ม - การฉีดสารเข้าริดสีดวงเพื่อท้าให้หัว ริดสีดวงยุบ - การใช้ยางรัดหัวริดสีดวง - การผ่าตัด hemorrholdectomy
การพยาบาล 1) ดูแลให้บริเวณฝีเย็บและทวารหนักให้สะอาด โดยการแช่ ก้นด้วยน ้าอุ่นและซับให้แห้งด้วยผ้าสะอาด 2) การแช่ก้น (sitz bath) จะช่วยลดอาการปวด 3) การท้าแผลด้วยวิธีwet dressing 4) รักษาความสะอาดและบรรเทาการระคายเคือง เนื อเยื่อ
ป็นการขยายของเลือดด้าที่รูทวารหนัก มี2 ชนิด 1. ริดสีดวงทวารหูรูดด้านใน (Internal Hemorrhoids) 2. ริดสีดวงทวารหูรูดด้านนอก external
นายอรรคเดช เพชรมีศรี UDA6380002