Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 15 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาของ ระบบทางเดินปัสสาวะ…
บทที่ 15 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาของ ระบบทางเดินปัสสาวะ ระยะเฉียบพลันและเรื้อรัง
ไตบาดเจ็บเฉียบพลัน (acute renal failure : ARF) หรือ ไตบาดเจ็บเฉียบพลัน (acute kidney injury : AKI)
พยาธิสภาพไตบาดเจ็บเฉียบพลัน (acute renal failure) เมื่อไตมีเลือดไปเลี้ยงน้อยลงจนมีการกระตุ้นระบบ Angiotensin ท้าให้มีการหลั่งแอลโดสเตอโรน (Aldersterone) ซึ่งเพิ่มการดูดกลับของน้้าที่หลอดไต ส่วนปลายมากขึ้น
พยาธิสภาพไตบาดเจ็บเฉียบพลัน (acute renal failure) 1 ระยะเริ่มแรก (initial phase) 2. ระยะที่มีการท้าลายของเนื้อไต (maintainance) 3. ระยะที่มีปัสสาวะออกมาก (Diuretic phase) 4. ระยะที่ไตเริ่มฟื้นตัว (recovery phase)
สาเหตุของไตบาดเจ็บเฉียบพลัน ไตบาดเจ็บเฉียบพลันจ้าแนกตามพยาธิสภาพได้ 3 ระดับ 1. Prerenal acute renal failure 2. Prerenal acute renal failure 3. Intrinsic acute failure
ผลกระทบของไตบาดเจ็บเฉียบพลัน • ภาวะแทรกซ้อนทางสมอง (ซึม ชัก) เนื่องจาก ภาวะยูรีเมีย (uremia) • ภาวะเลือดออกง่าย เนื่องจากเกล็ดเลือดไม่จับตัว ท้าให้มีเลือดออกง่าย อาเจียนหรือถ่ายเป็นเลือด • เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ (pericarditis) เกิดจาก การคั่งของ BUN (BUN>100 mg/dl) ผู้ป่วย จะมีอาการไข้สูง เจ็บหน้าอก • ภาวะติดเชื้อง่าย เนื่องจากภูมิคุ้มกันต่้า
ภาวะที่ไตมี การสูญเสียการท างานอย่างรวดเร็วในเวลาเป็นชั่วโมง หรือในเวลาไม่กี่วัน ท าให้ไตไม่สามารถขจัดของเสียออก ไปได้เป็นผลให้มี ของเสียเพิ่มขึ้น เกิดความ ไม่สมดุล ของสารน้ า อิเล็กโทรลัยต์และภาวะ กรด-ด่างในร่างกาย ท้าให้เกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ เช่น ภาวะน้้าเกิน ภาวะ Kในเลือดสูง ภาวะเลือดเป็นกรด ค ่าปกติ BUN Cr • BUN คือ 7 - 20 mg/dL • Creatinine คือ ผู้ชาย 0.70- 1.20mg/dL ผู้หญิง 0.50 - 0.90 mg/dL
หน้าที่ของไต
อวัยวะในระบบทางเดินปัสสาวะ ประกอบด้วย 1. ไต (Kidneys) 2. ท่อไต (ureter) เป็นท่อที่ต่อจากไตทั้ง 2 ข้าง เป็นทางน้้าปัสสาวะ 3.กระเพาะปัสสาวะ (bladder) 4.ท่อปัสสาวะ (urethra)
การติดเชื้อของกระเพาะปัสสาวะ (cystitis) คือ การอักเสบของผนังกระเพาะปัสสาวะ (inflammatory) มักมี สาเหตุจากการติดเชื้อที่เกิดขึ้นบริเวณผนังของกระเพาะปัสสาวะ • เชื้อ แบคทีเรีย E. Coli ร้อยละ 80 • จากเชื้อรา (Fungal) • แบคทีเรีย แกรมลบ Staphylococi • แบคทีเรีย แกรมลบ Neisseria gonorrhea • แบคทีเรีย แกรมลบ Tricomonas vaginaris
สร้างฮอร์โมน Distal tubule หลั่ง Renin Aldosterone ดูดกลับของNa, H2O Renal tubule สร้าง Erythropoietin กระตุ้นไขกระดูกสร้าง เม็ดเลือด (Wbc,Rbc,Plt) Vit D ช่วยในการดูดกลับของ Ca จากล าไส้มาเก็บสะสมที่กระดูก Prostaglandine ช่วยในการหด และขยายของหลอดเลือด
การประเมินภาวะสุขภาพ กระเพาะปัสสาวะอักเสบ (cystitis 1 การซักประวัต 2. การตรวจร่างกาย 3. การตรวจทางห้องปฎิบัติการ
ขับของเสียออกจากร่างกาย (BUN,Cr,Uric acid) ปรับความ สมดุลของน้้า เกลือแร่ ความเป็นกรดด่าง ควบคุมความดันโลหิต (Na,H2O) ขับสารต่างๆ (ยาที่รับประทานเข้าไป สารเคมี ) สร้างฮอร์โมน
การพยาบาล • ให้ความรู้ในเรื่องการปฏิบัติตนเพื่อป้องกันการติดเชื้อ • ให้ยาแก้ปวด (analgesic) พวกPyridium (phenazo pyridine) เพื่อลดปวดและการหดเกร็ง (spasm) ของกระเพาะปัสสาวะ • หลีกเลี่ยงการสวนปัสสาวะ • ดูแลให้ได้รับสารน้้าอย่างเพียงพอ ให้ดื่มน้้ามากๆ • บันทึกจ้านวนสารที่เข้าและออก
โรคของระบบอวัยวะสืบพันธ์เพศชาย
อาการและอาการแสดง • ผู้ป่วยจะปัสสาวะบ่อย • จะมีอาการถ่ายปัสสาวะขัด • สายปัสสาวะอ่อนลง ปัสสาวะไม่พุ่ง • การติดเชื้อจะเกิดร่วมด้วยเสมอ ซึ่งจะท้าให้ปัสสาวะขุ่นเป็น หนอง และปวด ถ้าการอุดกั้นนี้ยังมีต่อ จะท าให้หลอดไต และ โตโป่งพอง ไตค่อยๆเสื่อมสมรรถภาพไปหรือภาวะยูรีเมีย เรื้อรัง
การตรวจวินิจฉัย 1.การตรวจทางทวารหนัก 2.การตรวจด้วยเครื่องมือส่องดูภายใน ได้แก่ panendoscope 3. การตรวจทางรังสี เช่น plain KUB IVP อัลตราซาวด์ต่อมลูกหมาก (TRUs) 4. ตรวจเลือดหาค่า BUN, Cr เพื่อดูการท างานของไตซึ่งเป็นผลมาจาก การอุดกั้น 5. การตรวจหาสาร PSA ซึ่งเป็นสารโปรตีนที่ผลิตโดยต่อมลูกหมาก ค่า จะสูงในโรคมะเร็งต่อมลูกหมาก
สาเหตุ ยังไม่ทราบสาเหตุแน่ชัดว่าอะไรเป็นต้นเหตุ เพียงแต่ เข้าใจว่า มีส่วนเกี่ยวข้องกับความไม่สมดุลระหว่างฮอร์โมนแอน โดรเจน กับ เอสโตรเจนในผู้สูงอายุ
ภาวะแทรกซ้อนกระเพาะปัสสาวะอักเสบ (cystitis) • ต่อมลูกหมากอักเสบ • กรวยไตอักเสบ • นิ่วในกระเพาะปัสสาวะ
ต่อมลูกหมากโต ต่อมลูกหมากโต (Benign prostatic hypertrophy: BPH) ต่อมลูกหมากเป็นส่วน หนึ่งของอวัยวะเพศชาย มีรูปร่างคล้ายลูกหมาก ขนาดเล็กอยู่ในอุ้งเชิงกรานระ ว่างกระดูกหัวหน่าวและทวารหนัก อยู่ ล้อมรอบท่อปัสสาวะส่วนต้น
AKI on top CKD หมายถึง ไตเสื่อมเฉียบพลัน ในคนที่มีไตวาย เรื้อรังระยะต้นอยู่แล้ว ส่งผลท้าให้ไต วายมากขึ้น รุนแรงขึ้นและรักษา ยากกว่าปกติบางคนอาจต้องรักษาด้วยการ ฟอกไตฉุกเฉิน
ไตเรื้อรัง (CKD)
โรคไตระยะสุดท้าย End State Renal Disease (ESRD ) โรคไตระยะสุดท้าย หมายถึง โรคไตวายเรื้อรังอย่างถาวร ที่มีการสูญ เสีย หน้าที่การท้างานของไต ลดลงมากที่สุด GFR < 15 มล./นาที/1.73 ตร.เมตร และมีพยาธิสภาพที่เนื้อไต เกิดการคั่งค้างของของ เสียจ านวนมาก ท าให้ผู้ป่วยมีอาการรุนแรงจนเสียชีวิตได้ผู้ป่วยจ าเป็นต้องได้รับการล้างไต ตลอด ชีวิตหรือปลูกถ่ายไตจึงจะสามารถมีชีวิตต่อได้
หลักการการรักษา 1.การรักษาเฉพาะเจาะจงตามชนิดของโรคไตเรื้อรัง เช่น คุมระดับ น้้าตาลใน เลือดในกรณีเป็นเบาหวาน ก้าจัด นิ่วในระบบทางเดิน ปัสสาวะ เป็นต้น 2.ประเมินและรักษาโรคหรือภาวะอย่างอื่นที่พบร่วมด้วย 3.ชะลอการเสื่อมของไต 4.ป้องกันและรักษาโรคหัวใจและหลอดเลือด 5.ป้องกันและรักษาผลแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นเนื่องจากการท้างานของไตลด ลง 6.เตรียมผู้ป่วยส าหรับกรณีไตวายเรื้อรัง รวมถึงเตรียมการรักษาทดแทน ไต 7.การรักษาทดแทนไต (Renal replacement therapy – RRT) เช่น การล้างไต (dialysis) หรือการปลูกถ่ายไต เมื่อมีอาการจากภาวะยูรีเมีย
ขั้นตอนของไตเรื้อรังแบ ่งออกเป็น 4 ระยะ 1. การท้างานของไตลดลง (Early stage or diminished renal reserve) 2.ไตเสื่อมสมรรถภาพ (renal insufficiency) 3. ไตวาย (renal failure) 4. ไตวายระยะสุดท้ายหรือยูรีเมีย (uremia)
การรักษาแบบประคับประคอง อาหาร (diet intervention) •ร่างกายจะ สูญเสียสารอาหารโปรตีน•หลีกเลี่ยง เนื้อสัตว์แปรรูป
สาเหตุของไตเรื้อรัง กลุ่มอาการเนฟโฟติคกลายเป็นหลอดเลือดฝอยไตอักเสบเรื้อรัง (chronic glomerulo nephritis) กรวยไตอักเสบเรื้อรัง (chronic pyelonephritis) โรคหลอดเลือด ได้แก่ หลอดเลือดแดงที่ไตตีบ (renal artery stenosis) ความดันโลหิตสูงไม่ทราบสาเหตุ (essential hypertension) มีความผิดปกติของไตแต่ก าเนิด (polycystic kidney) • การอุดกั้นทางเดินปัสสาวะ เช่น นิ่วในไต, ภาวะแคลเซียมสูงในกระแสเลือด ต่อมลูกหมากโต • โรคที่มีผลทั่วระบบ (systemic disease) เช่น เอส.แอล.อี (SLE) โกลเมอรูลัสเสื่อมจากโรคเบาหวาน (glomerulosclerosis) เมลิออยโดสิส (meloidosis) มัลติเพิลมัยอิโลมา (multiplemyeloma) โปตัสเซียมต่้า จากไตพิการ (hypokalemic nephropathy) เป็นต้น
การบ้าบัดทดแทนไต (renal replacement therapy; RRT) การบ้าบัดทดแทนไต (renal replacement therapy; RRT) ได้แก่ 1.การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม (hemodialysis) 2.การล้างไตทางหน้าท้อง (peritoneal dialysis) 3.การผ่าตัดปลูกถ่ายไต (kidney transplantation)
ป่วยโรคไตเรื้อรัง หมายถึง ผู้ป่วยที่มีลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่ง ในสองข้อต่อไปนี้ 1.ผู้ป่วยที่มีภาวะไตผิดปกตินานติดต่อกันเกิน 3 เดือน 2. ผู้ป่วยที่มีGFR น้อยกว่า 60 มล./นาที/1.73 ตารางเมตร ติดต่อกัน เกิน 3 เดือน
นายอรรคเดช เพชรมีศรี UDA6380002