Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มมนุษยนิยม (Humanism) - Coggle Diagram
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มมนุษยนิยม
(Humanism)
ให้ความสำคัญของการเป็นมนุษย์ มนุษย์มีคุณค่า
มีความดีงาม มีความสามารถ มีความต้องการ
และมีแรงจูงใจภายในที่จะพัฒนาศักยภาพของตนเอง หากได้รับอิสรภาพจะพัฒนาตนเองไปสู่มนุษย์ที่สมบูรณ์
การประยุกต์ใช้
การประยุกต์ใช้กับครูผู้สอน
ครูเป็นคนใจกว้าง
รับฟังผู้เรียน
ให้ความสำคัญกับผู้เรียน
รับฟังข้อเสนอแนะทางบวกและลบ
กระตุ้นให้ผู้เรียนมีความรับผิดชอบ
จัดกิจกรรมการสอนที่หลากหลาย
กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดการประเมินตนเองของผู้เรียน
การประยุกต์ใช้กับการจัดการเรียนรู้
จัดการเรียนตามสภาพของแต่ละบุคคล
ไม่ยึดติดกับข้อจำกัดทางวัฒนธรรม
จัดการเรียนรู้ตามเสียงของผู้เรียน
เรียนรู้จากลักษณะภายในหรือความต้องการของบุคคล
กระตุ้นให้ผู้เรียนเห็นคุณค่าของความงามในชีวิต
ฝึกให้จริงจังต่อการแก้ไขปัญหา
ทฤษฎีการพัฒนาตนเอง
(คอมบ์ส)
ธรรมชาติของมนุษย์ใฝ่ดีและสร้างสรรค์ มีแนวโน้มที่จะพัฒนาตนเองไปถึงจุดสมบูรณ์สูงสุดแห่งชีวิต
ถ้าสภาพแวดล้อมเอื้ออำนวย
รู้จักตนเองตามสภาพจริง
สามารถเข้าใจตนเอง
ยอมรับตนเองในส่วนบกพร่องและส่วนดี
รู้จุดอ่อนและตระหนักในความสามารถของตนเอง
พร้อมที่จะรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นที่มีต่อตนเอง
ความต้องการขั้นต่ำ
ขั้นที่ 3 ความต้องการความรักและความเป็นเจ้าของ
เชื่อถือไว้วางใจซึ่งกัน
รู้สึกไม่โดดเดี่ยว
สร้างความผูกพัน
ขั้นที่ 2 ความต้องการความมั่นคงปลอดภัย
ครอบครัวมีอิทธิพลต่อความต้องการความปลอดภัยโดยเฉพาะใน
วัยเด็กความไม่มั่นคงทำให้เด็กรู้สึกไม่ปลอดภัย
ขั้นที่ 4 ความต้องการมีเกียรติและมีศักดิ์ศรี
ขึ้นอยู่กับประสบการณ์ส่วนตัวของแต่ละบุคคลทำให้รู้สึกว่าตัวเอง
มีค่าและมีความสำคัญต่อผู้อื่น
ขั้นที่ 1 ความต้องการด้านร่างกาย
ความต้องการพื้นฐานของชีวิต
ยา
เครื่องนุ่งห่ม
อาหาร
ที่อยู่อาศัย
เป็นแรงจูงใจตอบสนองความต้องการขั้นนี้และขั้นต่อไป
ความต้องการขั้นสูง
ขั้นที่ 5 ความต้องการพัฒนาตนเองไป
ถึงจุดสมบูรณ์สูงสุดของชีวิต
ตระหนักตนเองในสภาพความเป็นจริง
ต้องการพัฒนาไปเป็นคนที่สมบูรณ์สูงสุด
แรงจูงใจของมนุษย์
แรงจูงใจที่เกิดจากความขาดแคลน
ขาดความรัก ความเอาใจใส่
มีผลต่อพฤติกรรม
ถ้ามีมากเกินไปจะเจ็บป่วยทางจิตใจ
มีบุคลิกภาพผิดปกติ
แรงจูงใจเพื่อความเจริญเติบโต
พลังแสวงหาความมั่นคงเป็นแรงจูงใจด้านลบ
พลังกระตุ้นให้คนเคลื่อนไปข้างหน้าเป็นแรงจูงใจด้านบวก
ทฤษฎีตัวตน
(โรเจอร์ส)
ตนตามที่เป็นจริง
ตัวตนตามข้อเท็จจริง
แต่บ่อยครั้งที่ตนมองไม่เห็นข้อเท็จจริง
ตนตามอุดมคติ
ตัวตนที่อยากมีอยากเป็น
แต่ยังไม่เป็นสภาวะปัจจุบัน
ตนตามที่ตนมองเห็น
ภาพที่ตนเองเห็นว่าตนเป็นอย่างไร
อาจไม่ตรงกับข้อเท็จจริงหรือสิ่งที่คนอื่นเห็น
ทฤษฎี Client Centered
(โรเจอร์ส)
การสอนโดยให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
คล้ายคลึงกับผู้มารับคำปรึกษาเป็นศูนย์กลาง
ช่วยให้ผู้เรียนรู้จักพึ่งตนเองในเรื่องการเรียน
ทฤษฎีการพัฒนาตนเอง
(คอมบ์ส)
พฤติกรรมส่วนใหญ่ของบุคคลเป็นผล
มาจากการรับรู้สิ่งแวดล้อมในช่วงเวลานั้น
เน้นการรับรู้ของผู้เรียนมากกว่าการคิดและให้เหตุผล
การรับรู้เกี่ยวกับตนเองเป็นสิ่งสำคัญ
นำไปสู่หลักการสำคัญในการเรียนการสอน
ความต้องการพื้นฐานของมนุษย์
เป็นตัวกระตุ้นให้มนุษย์แสดงพฤติกรรม