Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเลือกทำเลที่ตั้งและลัษณะของเรือนไทยทั้ง 4 ภาค, นายภัทรพงศ์ ปกรณ์รัตน์ ม…
การเลือกทำเลที่ตั้งและลัษณะของเรือนไทยทั้ง 4 ภาค
เรือนไทยภาคเหนือ (เรือนกาแล เรือนล้านนา)
เรื่อนที่อยู่อาศัยจึงต้องมีชายคาที่ลาดคลุมลงมาต่ำถึงตัวเรือนจึงมีความอบอุ่นการงวางตัวเรือนจะเป็นลักษณะขวางตะวันเพื่อให้ห้องนอนรับแสง
ลักษณะเด่น คือ ที่ยอดปั้นลมนิยมประดับไม้กาแลและแกะสลักอย่างงดงาม
มักนิยมตั้งถิ่นฐานบริเวณที่ราบลุ่มแม่นน้ำ ระหว่างหุบเขา
มีการจัดระบบชลประทานที่เรียกว่า ฝาย
เรือนไทยภาคกลาง
มักสร้างอยู่ตามริมแม่น้ำสร้างเป็นแนวยางตลอดทั้งสองฝั่งของลำ มี 3 รูปแบบ
เรือนครอบครัวขยาย
พ่อแม่มักปลูกเรือนให้ลูกสาวและลูกเขยอยู่ต่างหากอีก 1 หลังซึ่งอาจอยู่ด้านข้าง ด้านตรงข้ามหรือปลูกเป็นเรือนที่ตั้งออกจากเรือนพ่อแม่ก็ได้
เรือนคหบดี
ผู้สร้างมักมีฐานะดี เรือนทุกหลังเชื่อมต่อกันชาน โล่งไม่มุงหลังคา แต่บริเวณกลางชานมักเจาะเป็นช่องเพื่อปลูกต้นไม้ใหญ่ที่ให้ร่มเงา
เรือนครอบครัวเดี่ยว
มีเรือนนอน 1 หลัง แบ่งเป็นห้องนอนและห้องโถงเรือนครัวอีก 1 หลังเรือนทั้ง 2 หลัง เชื่อมต่อกันด้วยระเบียง
เรือนภาคใต้
ชาวใต้ก็อาศัยน้ำบ่อ ในชีวิตประจำวันเหตุที่ไม่นิยมใช้น้ำจากแม่น้ำ
ลำคลองเนื่องจากแม่น้ ภาคใต้ส่วนใหญ่ได้รับอิทธิพลจากน้ำเค็ม มี 2 รูปแบบ
เรือนไทยมุสลิม
เป็นเรือนที่สะท้อนพื้นบ้านและวัฒนธรรมอิสลาม กำหนดแบ่งแยกพื้นที่สำหรับเพศชายและเพศหญิงอย่างชัดเจน
เรือนไทยพุทธ
มีขนาดไม่ใหญ่โตนักหลังคาจั่วและไม่ยกพื้นสูงขนาดให้คนเดินลอดได้สะดวก
เรือนอีสาน
แต่ละปีฝนตกต่อเนื่องจากดินในภาคนี้ส่ นี้ ส่วนใหญเป็นดินปนทรายที่ไม่อุ้มน้ำจึงไม่สามารถกักเก็บน้ำได้ จึงมีการเลือกสถานที่ตั้งของบ้านเรือนที่แตกต่างกันไปตามสถานที่ คือ ที่ราบลุ่มใกล้แหล่งน้ำที่เขื่อนมีน้ำซับหรือชายป่า มี 3 รูปแบบได้แก่
เรือนตั้งตอดิน
นิยมปลูกเป็นเรือนแฝดใต้ถุนสูงมีเรือนไฟและร้านน้ำ ลักษณะคล้ายเรือนเกยคือเรือนที่ต่อชานที่มีที่มีหลังคาคลุมต่อออกไปจากเรือนใหญ่
เรือนถาวร
เรือนเครื่องสับไม้จริง รูปทรงเรียบง่าย
หลังคาจั่วมีหน้าต่างบานเล็ก
เรือนกึ่งถาวร
เป็นเรือนเครื่องผูกหรือผสม เรือนเครื่องสับเป็นเรือนของเขยที่เพิ่งแยกตัวออกจากเรือนของพ่อแม่
นายภัทรพงศ์ ปกรณ์รัตน์ ม.4/2 เลขที่ 6