Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบภูมิคุ้มกัน Immune System, 👩🏻💼 นางสาวลักษิกา รัตนพันธ์ 👩🏻💼 …
ระบบภูมิคุ้มกัน
Immune System
Immune system
ระบบของร่างกายที่มีกลไกการป้องกันและทําลายเชื้อโรคหรือสิ่งแปลกปลอม
Antibody
เป็นโปรตีนขนาดใหญ่ ผลิตจากเม็ดเลือดขาวลิมโฟไซต์ชนิดบี
(B-lymphocyte)
ตรวจจับและทำลายฤทธิ์ของสิ่งแปลกปลอมที่เข้ามาในร่างกาย
ชนิด
IgG
IgE
IgD
IgM
IgA
พบ
น้ำเหลือง
สารคัดหลั่ง
เลือด
Antigen
เชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมที่เข้าสู่ร่างกาย ทําให้ร่างกายเกิดปฏิกิริยาต่อต้าน
ตัวอย่าง
เชื้อรา
ไวรัส
แบคทีเรีย
สารเคมี
ฝุ่นละออง
เกสรดอกไม้
ระบบน้ำเหลืองและเซลล์เม็ดเลือดขาว
สําคัญต่อระบบภูมิคุ้มกัน
ลักษณะการทำงาน
Specific Defense Mechanism
การตอบสนองและกำจัดสิ่งแปลกปลอมที่เข้าสู่ร่างกาย
อย่างจำเพาะเจาะจง
ผ่านการทำงานของเซลล์เม็ดเลือดขาว
เซลล์บี (B Cell)
เซลล์ที (T Cell)
Non-Specific Defense Mechanism
กำจัดสิ่งแปลกปลอมที่เข้าสู่ร่างกาย
เปลี่ยนแปลงไปตามอายุ พันธุกรรม ฮอร์โมน และความสมบูรณ์
แบ่งออกเป็น 3 ลักษณะ
1.การป้องกันทางกายวิภาค
2.การป้องกันโดยสารเคมีในร่างกาย
3.การกลืนกินของเซลล์
ประเภท
2.Acquired Immunity
ภูมิคุ้มกันที่ได้รับมาภายหลัง
แบ่งออกเป็น 2 ระบบย่อย
1.แบบเฉพาะเจาะจง (Adaptive Immunity)
การปรับตัวตามธรรมชาติจากการต่อต้านเชื้อโรค
อาการเจ็บป่วย หรือสิ่งแปลกปลอม
คงอยู่ช่วงระยะเวลาหนึ่งหรืออาจกลายเป็นภูมิคุ้มกันตลอดชีวิต
2.จากภายนอก (Passive Immunity)
ได้รับภูมิคุ้มกันมาจากภายนอกโดยที่ร่างกายไม่ได้สร้างขึ้นเอง
ตัวอย่าง
การได้รับภูมิคุ้มกันตามธรรมชาติของทารกจากการดื่มน้ำนมแม่
การฉีดเซรุ่ม
การฉีดวัคซีน
เกิดขึ้นจากการที่ร่างกายได้รับสิ่งแปลกปลอม
หรือการกระตุ้นจากวัคซีนต่าง ๆ
มีการจดจำลักษณะของสิ่งกระตุ้น
1.Innate Immunity
ภูมิคุ้มกันที่ได้รับมาแต่กําเนิด
ถูกสร้างขึ้นเองและติดตัวมาตั้งแต่เกิด
เป็นปราการด่านแรกในการป้องกันเชื้อโรค
ได้รับการถ่ายทอดผ่านทางพันธุกรรม
ระบบน้ำเหลือง
(lymphatic system)
เป็นระบบลำเลียงสารต่างๆให้กลับเข้าสู่เส้นเลือด
หน้าที่
สร้างเม็ดเลือด
ช่วยป้องกันโรค
นำโปรตีนกลับสู่หลอดเลือด
น้ำเหลือง (Lymph)
เป็นของเหลวที่ซึมผ่านผนังเส้นเลือดฝอยออกมาอยู่ระหว่างเซลล์หรือรอบๆเซลล์เพื่อหล่อเลี้ยงเซลล์
ส่วนประกอบ
ฮอร์โมน
เม็ดเลือดขาว
โปรตีน
โมเลกุลขนาดเล็ก เช่น อัลบูมิน
สารที่มีโมเลกลุเล็กๆ เช่น ก๊าซ น้ำ น้ำตาลกลูโคส
ท่อน้ำเหลือง
(Lymph vessel)
ท่อที่ติดกันทั่วร่างกายปลายสุดของท่อปิดตัน
มีลักษณะคล้ายเส้นเลือดเวน
มีลิ้นกันป้องกันการไหลกลับของน้ำเหลือง
ต่อมน้ำเหลือง (lymph node)
ทำหน้าที่กรองและกำจัดสิ่งแปลกปลอมบางชนิด
อวัยวะน้ำเหลือง
ต่อมน้ำเหลือง
ต่อมไทมัส
ต่อมทอนซิล
ม้าม
ไขกระดูก
เนื่อเยื่อน้ำเหลืองที่ลำไส้เล็ก
ระบบปกคลุมร่างกาย
(Integumentary system)
ระบบอวัยวะที่ปกคลุมอยู่นอกสุดของร่างกาย
ประกอบด้วย
ผิวหนัง
อวัยวะที่มีต้นกำเนิด
มาจากผิวหนัง
เล็บ
ผม/ขน
รูขุมขน
ต่อมไขมัน
ต่อมเหงื่อ
หน้าที่
ป้องกัน (Protection)
รับความรู้สึก (Sensation)
ควบคุมสมดุลความร้อนของร่างกาย (Thermoregulation)
ควบคุมระบบเมตตาบอลิซึม (Metabolism)
เซลล์เม็ดเลือดขาว
(Leucocyte/White blood cells)
ความรู้ทั่วไป
หน้าที่
โอบล้อมและจับกินเชื้อโรคแบบฟาโกไซโตซิส
สร้างแอนตบิ อดี (antibody) ต่อต้านและทำลายส่ิงแปลกปลอม
ลักษณะ
มีนิวเคลียสในเซลล์
ใหญ่กว่าเซลล์เม็ดเลือดแดงประมาณ 2 เท่า
เซลล์ไม่มีสี เพราะไม่มีฮีโมโกลบิน
เซลล์ลีบเล็ก ผ่านผนังหลอดเลือดฝอยได้
มีอายุประมาณ 2-6 วัน
แหล่งสร้างเม็ดเลือดขาว
ไขกระดูก
ต่อมไทมัส
ม้าม
ต่อมน้ำเหลือง
ชนิด
จำแนกตามลักษณะอนุภาคเล็กๆ
1.แกรนูลโลไซต์
มีแกรนูลของไลโซโซมจํานวนมาก
ในไซโทพลาสซึม
สร้างมาจากไขกระดูก
มีอายุประมาณ 2-4 วัน
ประกอบด้วย
นิวโทรฟิล (Neutrophil)
อีโอซิโนฟิล (Eosinophil)
เบโซฟิล (Basophil)
2.อะแกรนูลโลไซต์
ไม่มีแกรนลูของไลโซโซมในไซโทพลาสซึม
สร้างจาก
ไขกระดูก
อวัยน้ำเหลือง
ต่อมน้ำเหลือง
ต่อมไทมัส
ม้าม
มีอายุประมาณ 100-300 วัน
ประกอบด้วย
ลิมโฟไซต์ (Lymphocyte)
โมโนไซต์ (Monocyte)
จำแนกตามหน้าที่
1.ฟาโกไซโตซิส
2.ลิมโฟไซต์
การทำงาน
phagocytosis
เป็นวิธีทำลายเชื้อโรคโดยการกิน
และย่อยสลายเชื้อโรค
immunization
สร้างสารพวกโปรตีนที่มีคุณสมบัติ
ต่อต้านสิ่งแปลกปลอมและเชื้อโรค
👩🏻💼 นางสาวลักษิกา รัตนพันธ์ 👩🏻💼
รหัสนักศึกษา 64205303032
ส.บ.(ทันตสาธารณสุข)